ปีที่ผ่านมาถือเป็นปีที่ตลาดการเงินของโลกมีความผันผวนเป็นอย่างยิ่งจากผลกระทบของการแพร่ระบาดไวรัสโควิด และในปี 2564 นี้ความผันผวนดังกล่าวจะยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ในฐานะเจ้าของกิจการเราต้องเรียนรู้และเตรียมรับมือ
ธุรกิจในตอนนี้กำลังเจอกับ Double Disruptions ซึ่งจะอยู่กับเราต่อไปอีกยาวแม้จะหมดจากโควิดไปแล้วก็ตาม และนี่คือ 9 เทรนด์เทคโนโลยีแห่งอนาคตที่เชื่อมโยงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
สิ่งที่ SME จะต้องเตรียมรับมือ คือในปีหน้าเศรษฐกิจไทยอาจจะยังฟื้นตัวอย่างช้าๆ จากหลายปัจจัยที่เข้ามากดดัน โดยเฉพาะ “แผลเป็นทางเศรษฐกิจ” (Scarring Effects) ทั้ง 3 อย่างนี้
ไวรัสโควิด-19 ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงทุกสิ่ง เมื่อปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป รูปแบบการทำธุรกิจต้องเปลี่ยนตามไปด้วย โดยเฉพาะกับธุรกิจโรงแรมที่พักซึ่งได้รับผลกระทบโดยตรง มาจับตา 4 เทรนด์ที่จะพลิกอนาคตธุรกิจโรงแรมไทยหลังจากนี้กัน
จากวิกฤติการระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ผ่านมา ธุรกิจการสั่งอาหารออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ กลายเป็นช่องทางสำคัญของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารและผู้บริโภค โดยพบว่ามีจำนวนร้านอาหารขนาดเล็ก-กลาง สมัครเข้าร่วมกับแพลตฟอร์มจัดส่งอาหาร ไม่น้อยกว่า 20,000 รายต่อสัปดาห์ทีเดียว
ก่อนหน้านี้ใครๆ ก็ว่า CLMV คือตลาดแห่งความหวังของผู้ส่งออกไทย แต่ทว่าทันทีที่พายุไวรัสโควิด-19 พัดผ่าน ตลาดที่เคยหอมหวานกลับเปลี่ยนแปลงไป ในวันนี้ประเทศแห่งความหวังกำลัง “บอบช้ำ”
โลกการทำธุรกิจจะเปลี่ยนหน้าตาไปจากเดิม หลังวิกฤตไวรัสโควิด-19 ผ่านพ้น สิ่งสำคัญไม่ใช่แค่การอยู่รอดให้ได้ในวิกฤต แต่ชีวิตหลังวิกฤตนั้นผู้ประกอบการจะต้องทำยังไง นี่คือโจทย์ที่ท้าทายยิ่งกว่า
มาตรการภาครัฐเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของ COVID-19 ทั้งมาตรการ Lockdown และการรณรงค์ด้าน Social Distancing มีผลกระทบโดยตรงต่อภาคธุรกิจและการจ้างงาน ซึ่งกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ เป็นการจ้างงานในธุรกิจ SME ที่มีความเปราะบางกว่าธุรกิจขนาดใหญ่
เป็นปรากฏการณ์ที่ไม่มีใครอยากให้เกิด สำหรับการอุบัติใหม่ของไวรัสโคโรนา ที่มีต้นกำเนิดอยู่ในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน ซึ่งกำลังพ่นพิษใส่เศรษฐกิจจีน เศรษฐกิจโลก แม้แต่ประเทศไทยเรา ที่มีนักท่องเที่ยวจีนเป็นตลาดใหญ่อยู่ในขณะนี้
สถานการณ์ส่งออกปี 2562 มีมูลค่ารวมอยู่ที่ 246,244.5 ล้านดอลลาร์ฯ หดตัวลงร้อยละ 2.65 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่การนำเข้ามีมูลค่ารวมอยู่ที่ 236,639.9 ล้านดอลลาร์ฯ หดตัวร้อยละ 4.66 ทำให้มูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยเกินดุล 9,604.6 ล้านดอลลาร์ฯ นับเป็นการเกินดุลการค้าติดต่อกั..
ปี 2562 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ปี! ที่ร้อยละ 2.0 ส่งออกสินค้าอาหารมีมูลค่าที่ 1.02 ล้านล้านบาท หดตัวลงที่ร้อยละ 3.8 จาก 3 ปัจจัยหลัก ทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก การแข็งค่าของเงินบาท และราคาอาหารโลกที่ปรับตัวลดลง
คลื่นความเปลี่ยนแปลง เข้ามากระทบกับหลายอุตสาหกรรม ไม่เว้นแม้แต่ตลาดสวยๆ งามๆ อย่างโลกแฟชั่น ที่วันนี้กำลังถูกท้าทายจากการเข้ามาของเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอบการในธุรกิจแฟชั่น จะรับมือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้อย่างไร ต้องปรับตัวอย่างไรถึงจะอยู่รอดในโลกอ..