สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 ยังคงรุนแรงในต่างประเทศ โดยล่าสุด (1 มิ.ย. 2563) จำนวนผู้ติดเชื้อไวรัส COVID-19 ทั่วโลก อยู่ที่ 6.4 ล้านคน
ในยุคที่สภาพแวดล้อมทางธุรกิจเปลี่ยน ลูกค้าลดลง คนระวังการใช้จ่าย และยังกลัวพิษภัยของไวรัส ผู้ประกอบการร้านอาหาร ต้องเร่งปรับตัวสู่บรรทัดฐานใหม่ในการทำธุรกิจ เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป และยังอยู่รอดได้ในโลกใบใหม่นี้
โควิด-19 นำมาสู่ค้าปลีกรูปแบบใหม่ ที่การสร้างมาตรฐานด้านความสะอาดและความปลอดภัย จะกลายมาเป็นปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการรุกตลาดออนไลน์ เมื่อการกักตัวสร้างพฤติกรรมใหม่ที่เคยชินจนเป็นเรื่องปกติที่เรียก New Normal
สถานการณ์ไวรัสโควิด-19 กระทบต่อภาคธุรกิจอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะธุรกิจค้าปลีกและร้านอาหารที่รายได้ส่วนใหญ่มาจากการขายหน้าร้านเป็นหลัก หนึ่งในการปรับตัวเพื่อประคับประคองธุรกิจคือ การเพิ่มช่องทางการขายทางออนไลน์มากขึ้นนั่นเอง
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ปรับประมาณการรายได้ของธุรกิจร้านอาหารในปี 2563 ลงเหลือ 4.02 – 4.12 แสนล้านบาท จากคาดการณ์เดิม ณ ต้นปี 2563 มีมูลค่า 4.39 แสนล้านบาท หรือลดลงที่ประมาณ 2.65 - 3.65 หมื่นล้านบาท
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยปรับลดจีดีพีไทยปี 63 เหลือ 0.5 เปอร์เซ็นต์ จากเหตุไวรัสโควิด-19 ย้ำหากสถานการณ์คลี่คลายตามสมมติฐาน จีดีพีจะดีขึ้นในไตรมาส 4
ถึงแม้จะเปิดปีใหม่ 2563 มาด้วยปัญหาฝุ่น PM2.5 และสถานการณ์ COVID-19 แต่ธุรกิจจัดงานวิ่งในไทยยังคงคึกคักอย่างต่อเนื่อง โดยศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า ปี 2563 ธุรกิจจัดงานวิ่งในไทยจะสร้างเม็ดเงินหมุนเวียนราว 1,700 ล้านบาท จากจำนวนนักวิ่ง 4-6 ล้านคน และจำนวนงานวิ่งทั้งปีไม่ต่ำกว..
ไวรัสโคโรนา ไม่ได้กำลังเล่นงานแค่คนจีนเท่านั้น แต่กำลังปล่อยเชื้อวิกฤติใส่ผู้ประกอบการไทยด้วย แม้แต่ SME ที่ทำสินค้าป้อนตลาดจีน หรือมีนักท่องเที่ยวจีนเป็นเป้าหมายหลัก มาดูวิธีตั้งรับวิกฤติไวรัสโคโรนาให้ได้ใจลูกค้าจีน ทั้งในวันนี้และอนาคตกัน
สถานการณ์ส่งออกปี 2562 มีมูลค่ารวมอยู่ที่ 246,244.5 ล้านดอลลาร์ฯ หดตัวลงร้อยละ 2.65 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่การนำเข้ามีมูลค่ารวมอยู่ที่ 236,639.9 ล้านดอลลาร์ฯ หดตัวร้อยละ 4.66 ทำให้มูลค่าการค้าระหว่างประเทศของไทยเกินดุล 9,604.6 ล้านดอลลาร์ฯ นับเป็นการเกินดุลการค้าติดต่อกั..
ในปี 2563 นี้ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่า ธุรกิจร้านอาหารจะมีมูลค่ารวมอยู่ที่ 4.37– 4.41 แสนล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 1.4 – 2.4 จากปี 2562 จากการลงทุนของผู้ประกอบการทั้งรายเล็ก ไปจนถึงรายใหญ่ที่สนใจเข้ามาเริ่มธุรกิจในตลาดอย่างต่อเนื่อง
ปี 2563 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าตลาดอาหารและเครื่องดื่มในประเทศจะโตเพียงร้อยละ 2.4-4.4 (YoY) แต่อาหารพร้อมทาน ยังมีแนวโน้มเติบโตสูงกว่าตลาดรวม โดยขยายตัวร้อยละ 3.0-5.0 (YoY) มีมูลค่าตลาดอยู่ที่ 20,200-20,500 ล้านบาท
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดการณ์เศรษฐกิจไทยในปี 2563 ว่าจะขยายตัวที่ 2.7 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่ธุรกิจไทยยังต้องเผชิญกับโจทย์หินทั้งเรื่อง เงินบาทแข็ง ภัยแล้ง และการปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ