ถ้าเราลองมองดูการวางแผนการฟื้นฟูการท่องเที่ยวของ ททท. สิ่งที่เห็นคือ “การวางระยะเวลาการฟื้นฟูที่ชัดเจน” จากเริ่มต้นการคลาย Lockdown ระยะที่ 2 เลือกพื้นที่ “ทดลอง” เปิดประเทศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสุดท้ายคือการเปิดประเทศเต็มตัว
ธุรกิจอะไรล่ะที่น่าทำ กำลังเป็นเทรนด์ และมีความหวังสุดในอนาคต และดูจะเป็นแต้มต่อของประเทศไทยเสียด้วย คำตอบก็คือ F-A-T-E
ธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยวน่าจะฟื้นตัวช่วงไตรมาส 3 หรือไตรมาส 4 ของปีหน้า 2564 อาจทำให้เราจำเป็นที่จะต้องมองหาทางออกอื่นสำรองไว้เป็นทางเลือกเพื่อความอยู่รอด คำถามคือ แล้วเราจะสามารถหาโอกาสในสายงานอาชีพอื่นอะไรได้บ้าง?
จนถึงตอนนี้เรายังคงก้าวไม่พ้นสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังไม่รู้ว่าพรุ่งนี้จะเป็นอย่างไร และไม่สามารถฟันธงได้ว่าจะจบลงเมื่อไร ทุกธุรกิจจึงดำเนินการภายใต้คำว่า “ไม่แน่นอน” ถ้าไม่อยากเป็นคนที่ถูกทิ้งไว้ข้างหลังก็ต้องปรับเปลี่ยนและเรียนรู้ในทุกๆ วัน
คนทำธุรกิจรุ่นก่อนอาจมีกำไรและยอดขายเป็นเป้าหมายสูงสุด แต่สำหรับคนรุ่นใหม่พวกเขามองหาความสุขและความหมายของชีวิตมากกว่า เหมือนกับ “วันนิวัติ ดวงพัตรา” เจ้าของ "GREENIQUE" ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมสมุนไพรเพื่อสุขภาพและผิวกาย จ.เพชรบูรณ์
หลังการมาถึงของวิกฤตโควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบอย่างหนักหน่วง เมื่อลูกค้าต่างชาติหดหาย ลูกค้าคนไทยกลายเป็นเค้กก้อนเดียวที่เหลืออยู่ ผู้ประกอบการรายเล็กอย่าง SME จะรับมือสถานการณ์นี้ด้วยหมัดเด็ดแบบไหน?
หลังโควิด -19 หลายอย่างถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ชีวิตที่เว้นระยะห่างทางสังคม และใส่ใจกับสุขอนามัยของตนเองมากขึ้น ธุรกิจโรงแรมอีกอุตสาหกรรมหลัก จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกดิสรัปต์จาก New Normal ได้
หากพูดถึงชื่อ “Bata” (บาจา) เชื่อว่านักเรียนไทยแทบทุกคนคงรู้จักกันเป็นอย่างดีกับแบรนด์รองเท้าผ้าใบคุณภาพชื่อดังที่วางจำหน่ายอยู่ในเมืองไทยมานานกว่า 90 ปี จนพาลให้คิดไปว่า Bata คือ หนึ่งใน Local Brand ของไทย แต่จริงๆ แล้วมาจากสาธารณรัฐเชกต่างหาก
ถ้าใครได้ติดตามความเคลื่อนไหวบนสื่อโซเชียลมีเดียในช่วงนี้ คงได้เห็นความกุ๊กกิ๊กน่ารัก สไตล์หยิกแกมหยอก แต่แฝงไว้ด้วยแง่คิด สุดท้ายแอบตบเข้า Tie-in สินค้าได้แบบเนียนๆ ของ “แม่ประนอม” แบรนด์น้ำพริกเผา น้ำจิ้มไก่เก่าแก่ดั้งเดิมของไทย
Fast Fashion ที่ผลิตออกมาจำนวนมากเพื่อขายในราคาถูกเป็นต้นตอของการทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล ทั้งในแง่ของการสร้างมลพิษและเอาเปรียบแรงงาน ผู้บริโภคสายกรีนจึงหันมาเลือกใช้สินค้าอย่างมีจริยธรรม ทำลายวงจรของการซื้อ-ใช้-ทิ้งอย่างรวดเร็ว
ในวันที่เกิดวิกฤตไวรัสโควิด-19 ความรู้และประสบการณ์ในอดีตกลายเป็นเรื่องเก่าที่เอามาใช้แก้สถานการณ์ไม่ได้ ท้าทายการทำธุรกิจของ SME ถึงเวลาพลิกตำราสู้เพื่อก้าวข้ามวิกฤตไวรัส ด้วยการคิดอย่าง..เสือ
กลุ่มผู้บริโภคในอาเซียนที่ใส่ใจประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยพวกเขาพร้อมมีส่วนร่วมช่วยผลักดันให้เกิดความเปลี่ยนแปลงขึ้นในสังคม ส่งผลต่อแนวคิดและพฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการ