ทันทีที่โควิด-19 มาเยือน ธุรกิจของจังหวัดระยองกลับหยุดชะงัก บางรายที่ไปต่อไม่ไหวก็ต้องถอนตัวจากธุรกิจ ที่ยังอยู่ก็ต้องดิ้นรนต่อสู้เพื่อให้หลุดพ้นจากวิกฤตนี้ เช่นเดียวกับ “โรงแรมพิมพิมาน” การเจอกับโควิดถึง 2 รอบ ท้าทายความอยู่รอดของพวกเขา
สถานการณ์โควิด-19 ในไทยกำลังคลี่คลาย เรากลับมาดำเนินชีวิตกันได้ปกติ ธุรกิจได้ผ่านช่วงเวลาที่หนักหนาที่สุดกลับเปิดให้บริการเต็มรูปแบบเสียที แต่ผลกระทบที่ผ่านมาสร้างบาดแผลให้กับธุรกิจไม่น้อย นี่คือ 5 สิ่งที่ SME ต้องคิดเพื่อก้าวต่อไปอย่างแข็งแกร่ง
โควิดเริ่มซา คนไทยเริ่มออกมาเที่ยว ปลุกตลาดการท่องเที่ยวไทยให้กลับมาคึกคักอีกครั้ง! นี่คือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในช่วงไม่กี่สัปดาห์ที่ผ่านมา หลังต้องปิดให้บริการไปชั่วคราวจากสถานการณ์ไวรัสโควิด-19
ไม่ว่าจะไปไหนมาไหนก็เห็นคนต่อคิวยาวไปเสียหมด ถึงแม้คนจะเข้าใจสถานการณ์ แต่คงอดไม่ได้ที่จะเสียอารมณ์เมื่อเห็นแถวยาวๆ พร้อมกับความคิดที่ว่า เมื่อไรจะถึงคิวเสียที! นี่คือสิ่งที่ธุรกิจสามารถทำได้ เพื่อทำให้ลูกค้ายังมีรอยยิ้มแม้ว่าต้องรอคิวนานๆ
ไม่มีอะไรเหมือนเดิมหลังธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบในวงกว้างต่อทั้งธุรกิจขนาดเล็ก กิจการขนาดใหญ่ หลากหลายอุตสาหกรรม กดดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวรับมืออย่างทันท่วงที มีแผนกลยุทธ์ที่สอดรับกับแต่ละช่วงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก
“ทรัพย์สินทางปัญญา” คืออาวุธที่ใช่ของ SME ที่จะช่วยส่งเสริมธุรกิจได้ดีที่สุดในยุค New Normal ไม่จำเป็นต้องสู้ด้วยสิ่งที่เสียเปรียบ แต่ถึงเวลาสู้ด้วย “ทุนสมอง” สูตรเพิ่มแต้มต่อธุรกิจที่ SME ทำได้
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
การที่ SME จะอยู่รอดในยุค Next Normal ไม่ใช่แค่หาเครื่องมือใหม่ๆ มาใช้เท่านั้น แต่ทุกองค์กรกำลังต้องการพนักงานที่ช่วยเพิ่มความสามารถในการดำเนินธุรกิจด้วย และนี่คือ 7 ทักษะสำคัญที่ผู้ประกอบการยุคนี้ต้องมองหาจากคนทำงาน
นี่ไม่ใช่แค่โรงแรมที่พัก หรือร้านอาหารที่มีวิวสวยๆ แต่ยังเป็นฟาร์มผักออร์แกนิก เป็นที่ปั่นจักรยาน พายเรือคายัค ว่ายน้ำ ชมพระอาทิตย์ตก หรือแม้แต่จัดงานแต่งงานสุด Exclusive บนเกาะส่วนตัว ที่แห่งนี้คือ “อินเลญา”
ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2563 ท่ามกลางวิกฤตไวรัสโควิด-19 การค้าชายแดนและผ่านแดนไทยมีมูลค่า 209,231 ล้านบาท หดตัวร้อยละ 10.6 (YoY) โดยการส่งออกอาหารสด ผักและผลไม้หดตัวสูงร้อยละ 38.1 (YoY) เนื่องจากอ่อนไหวด้านระยะเวลาขนส่งอย่างมาก ขณะที่อาหารแปรรูปยังขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 (YoY)
ในยุคปัจจุบัน การสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั้นไม่ได้คำนึงถึงเพียงแค่การใช้งาน ความสวยงาม ความโดดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ในการดึงดูดลูกค้าเท่านั้น หากแต่ต้องมาพร้อมการรับรู้และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม