เมื่อผู้คนเริ่มเรียนรู้ที่จะทดลองใช้ชีวิตวิถีใหม่ทั้งรูปแบบที่มีข้อจำกัดและไร้ซึ่งข้อจำกัด ได้มีเวลาอยู่กับบ้านมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ คือ การทดสอบมนุษย์ให้ลองออกจากกรอบเดิมๆ ที่เคยทำ จึงไม่แปลกที่วันนี้หลายคนจะลุกขึ้นมาเลือกทางเดินชีวิตตัวเอง
ซื้อก่อน จ่ายทีหลัง (Buy Now, Pay Later : BNPL) กำลังเป็นเทรนด์การจับจ่ายซื้อของบนโลกออนไลน์ เพราะคนที่ไม่มีบัตรเครดิตก็สามารถซื้อหรือผ่อนชำระได้เหมือนกัน และแม้แต่คนที่ถือบัตรเครดิตอยู่แล้วก็กำลังหันมาชำระเงินด้วยวิธีนี้
ความฮอตฮิตของซีรีส์ Squid Game คือความเคลื่อนไหวบรรดาแบรนด์ต่างๆ ที่พยายามโหนกระแสความดังด้วยการผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่ปรากฏในเนื้อเรื่องออกมาขาย ไม่ว่าจะเป็นชุดที่ผู้ร่วมแข่งขันเกมในซีรีส์ใส่ รองเท้า ผ้าห่ม หมอน หรือกระทั่งขนม
“Nimnim” แบรนด์เส้นโปรตีนจากไข่ขาวนวัตกรรมครั้งแรกของโลก ที่แม้จะเริ่มต้นจากงานวิจัยในห้องแลป แต่ทุกอย่างจะคำนึงถึงผู้บริโภคเป็นหลัก และราคาจับต้องได้ด้วย จึงจะต่อยอดกลายเป็นธุรกิจที่ยั่งยืน ทำเงิน สร้างรายได้ให้แบรนด์ในระยะยาว
โลกออนไลน์กลายเป็นทางรอดของหลายธุรกิจในยุคโควิด “Sticky” เป็นร้านลูกอมแฮนด์เมดในออสเตรเลียเป็นหนึ่งในนั้น หลังจากยอดหายหดจนเหลือ 0 ร้านก็ได้เริ่มโพสต์กระบวนวิธีการทำขนมอันน่าตื่นตาตื่นใจของร้านลงบนโซเชียลมีเดีย
ทำงาน Work From Home กันมานาน จนพนักงานหลายคนคุ้นเคยกับการทำงานที่บ้าน แบบนี้แล้วลองมาเจอกันครึ่งทาง สร้างออฟฟิศให้น่าอยู่ สร้างองค์กรที่พนักงานจะสามารถทำงานได้โดยที่มีสุขภาพกายและสุขภาพใจที่ดีกันดีกว่า
QR Code ไม่ใช่แค่เป็นตัวช่วยด้านความปลอดภัย แต่ร้านอาหารหรือแบรนด์ผลิตภัณฑ์ต่างๆ สามารถใช้ QR Code เพื่อสื่อสารกับลูกค้า หรือสร้างประสบการณ์และความพึงพอใจของลูกค้าได้มากขึ้นด้วย แถมมันเป็นเทคโนโลยีที่ไม่ต้องใช้ต้นทุนมากซะด้วยสิ
ธุรกิจอะไรที่เติบโตสวนพิษโควิดได้อย่างไม่กลัวไวรัส? ที่เด่นชัดก็คงจะเป็น Mango Tree : แม็งโกทรี ร้านอาหารไทยในเครือเดียวกันกับร้านสุกี้ “โคคา” ที่เติบโตได้อย่างไม่กลัวโควิดที่วัดได้จากแพลนเปิดร้านอาหารใหม่รวม 17 แห่งปีนี้ทั้งในไทยและเอเชีย
Facebook คิดโปรแกรม facebook Invoice Fast Track ช่วย SME รับซื้อใบแจ้งหนี้ที่ค้างชำระจากธุรกิจ แล้วจ่ายเงินตามยอดนั้นให้กับ SME ภายในไม่กี่วัน หลังจากนั้นลูกค้าจะชำระหนี้ที่ค้างอยู่ให้กับ Facebook แทน
กระแสชาตินิยมของจีนประทุขึ้นมาอีกระลอกช่วงเกิดวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ที่มณฑลเหอหนานช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา และ“เออร์เก้” (ERKE) ที่ล้มลุกคลุกคลานและประสบอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจมาตลอดกลับมอบเงินบริจาคถึง 50 ล้านหยวน
การกักตัวอยู่ที่บ้านนานๆ ทำให้ประชาชนเกิดความเบื่อหน่ายจึงเปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์หรือตกแต่งบ้านใหม่เพื่อสร้างบรรยากาศไม่ให้จำเจ IKEA จึงออกแคมเปญ Buy Back รับซื้อสินค้าใช้แล้วจากลูกค้ามาขายต่อ ที่กลายเป็นว่าแบรนด์ได้รับผลประโยชน์หลายต่อเลยทีเดียว
ธุรกิจหนึ่งที่เสียหายจากการแพร่ของไวรัสคือร้านตัดผมและร้านเสริมสวยที่โดยมากเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก เรียกง่ายๆ คือ SME นั่นเอง ไปดูสถานการณ์ที่อินเดียกันว่าเจ้าของร้านซาลอนทั้งหลายรับมืออย่างไร