อุปสรรคสำคัญที่ทำให้ธุรกิจของเอสเอ็มอีต้องสะดุดหยุดชะงักหรือไปต่อได้ไม่สุด คือ เงินทุนที่มีอยู่จำกัดจำเขี่ย ต่อให้ขายดีเพียงใด ถ้าไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันก็กู้เงินจากธนาคารไม่ได้
ในยุคที่เศรษฐกิจผันผวนและการแข่งขันที่รุนแรง ผู้ประกอบการเอสเอ็มอี ต่างต้องการ “เงินทุน” ในการขับเคลื่อนธุรกิจให้เติบโตอย่างยั่งยืน แต่ “การเข้าถึงสินเชื่อในระบบ” ยังเป็นอุปสรรคสำคัญของผู้ประกอบการ ทางออกหนึ่งคือการหันไปหา “เงินกู้นอกระบบ”
เพราะเชื่อว่าโลกใบนี้ไม่มีขยะ มีแค่เพียงทรัพยากรที่วางไว้ผิดที่ผิดทางเท่านั้น เหมือนกับที่ "เอส-ธนินท์รัฐ ธนเศรษฐ์โตกุล" ได้ค้นพบธุรกิจที่ใช่ หลังจากลองผิดลองถูกมาหลายธุรกิจ ซึ่งก็คือ "ธุรกิจรับซื้อของเก่า" ซึ่งเขามองว่าเป็นธุรกิจที่มีความเป็นอมตะ
ฟังเพลินๆ คำว่า ความยั่งยืน (Sustainable) และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (eco-friendly) อาจดูมีความใกล้เคียงกัน แต่สองคำนี้มีความแตกต่างกันอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับการทำธุรกิจ เรามีคำตอบจากธุรกิจจริงมายกตัวอย่างให้ดูกัน
หากยิงคำถาม ถามผู้ประกอบการในวิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่ม OTOP ว่าตัองการพัฒนาธุรกิจด้านใด คำตอบส่วนใหญ่ที่ได้มักเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ อยากทำสินค้าให้สวย ดูดีเพื่อส่งออกไปต่างประเทศ โดยหารู้ไม่ไม่ว่านั่นอาจเป็นกับดักที่นอกจากไม่ทำให้เกิดกำไรแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นอาจกลายเป็นขยะทางธุรกิจ
"โคราชไมโครบรู" เจ้าของโรงเบียร์ HOP Beer House Korat ผู้เชี่ยวชาญด้านคราฟท์เบียร์แห่งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่วันนี้หันมาต่อยอดวัตถุดิบอย่าง "ฮอปส์" ซึ่งเป็นพืชตระกูลเดียวกันกับกัญชามาผลิตเป็นเครื่องดื่มทางเลือกไร้แอลกอฮอลล์
ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาธุรกิจเอสเอ็มอีต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ท้าทายต่อการประกอบธุรกิจ แต่แน็คเก็ต (Nacket) และ แคบหมึก รุ่งธนา ไม่ใช่แค่สามารถเติบโตในช่วงวิกฤติโควิด-19 แต่ยังทำรายได้แตะหลักสิบล้าน
โลกยิ่งเจริญขยะก็ยิ่งเพิ่ม โดยหนึ่งในแนวทางที่ได้รับการกล่าวถึงเป็นวงกว้างและเริ่มนำไปใช้อย่างแพร่หลาย คือ BCG Model ยั่งยืน ประกอบด้วย B :Bio Economy เศรษฐกิจชีวภาพ C:Circular Economy เศรษฐกิจชีวภาพ และ G:Green Economy เศรษฐกิจสีเขียว
ภายใต้การนำของ วิภาวี วัชรากร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท วัชมนฟู้ด จำกัด กำลังผลักดันให้บริษัทฯ ก้าวไปข้างหน้าอีกขั้น ด้วยการเปลี่ยนผ่านสู่การเป็นธุรกิจที่ขับเคลื่อนด้วยดิจิทัล เพื่อให้เป็นจุดสตาร์ทของแผนการขยายขนาดธุรกิจในอนาคต
ปีนี้พวกเราผ่านจุดคุ้มทุนของการใช้ทรัพยากรโลกไปแล้ว และอยู่ระหว่างการ “กู้” ทรัพยากรคนรุ่นหลังมาใช้ และหากธุรกิจยังคงใช้ทรัพยากรอย่างไม่คิด หรือร่วมรับผิดชอบต่อโลกและสิ่งแวดล้อมให้มากกว่านี้ โลกของเราจะเจ๊ง! ในอีก 80 ปีข้างหน้า
ในยุคปัจจุบัน การสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั้นไม่ได้คำนึงถึงเพียงแค่การใช้งาน ความสวยงาม ความโดดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ในการดึงดูดลูกค้าเท่านั้น หากแต่ต้องมาพร้อมการรับรู้และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม
ใครจะรู้ว่าการที่เราซื้อเสื้อผ้าบ่อยๆ เป็นต้นเหตุของการทำร้ายสิ่งแวดล้อมโดยไม่รู้ตัว เพราะในกระบวนการผลิตเสื้อผ้านั้นมีการปล่อยคาร์บอนไม่ใช่น้อยเลยทีเดียว