Boost Juice คือ แบรนด์สมูทตี้ที่กำเนิดขึ้นเมื่อ 23 ปีก่อน จากหญิงสาวที่ไม่เคยเรียนมหาวิทยาลัย และไม่เคยบริหารธุรกิจ
เจตนาที่ต้องการช่วยเกษตรขายข้าวได้กิโลกรัมละไม่กี่บาท กลายเป็นการจุดประกายให้ ณภัทร อินทรเสน และ ฐิตารีย์ ทวาสินฐิติทัช สองสามีภรรยาหันมาทำธุรกิจเดลิเวอรี ผ่านไปเพียงสองปี กิจการที่คิดว่าทำฆ่าเวลา สามารถทำรายได้ถึงเป้า 5 แสนติดกัน 3 เดือน สู่การเปิดหน้าร้านที่เมืองทองธานีที่ยังคงไปได้ดี
"วาซาบิ คอมปานี" บริษัทแรกของยุโรปที่บุกเบิกการปลูกวาซาบิ พืชจากญี่ปุ่น ขายดีติดลมบน กวาดรางวัลนับไม่ถ้วน
ในยามที่วิกฤตรุมเร้าเข้ามาจนแทบตั้งตัวไม่อยู่ อาจทำให้ผู้ประกอบการหลายคนตกอยู่ในอาการมืดแปดด้าน คิดไม่ออก ไม่รู้จะเริ่มต้นแก้ไขปัญหาจากตรงไหนดี วันนี้เรามี 7 วิธี จาก 7 ผู้ประกอบการตัวอย่างที่เคยผ่านพ้นวิฤตมาแล้วมาฝาก
นี่คือร้านอาหารที่เคยได้รับการจัดอันดับว่าเป็น 1 ใน 50 ร้านอาหารที่ดีที่สุดในโลกลำดับที่ 12 แต่รู้ไหมก่อนจะมาเป็นเชฟระดับโลกเจ้าของเคยเคยเป็นนักกีฬาฟุตบอลมืออาชีพมาก่อน
เชื่อว่าในอนาคตการกินแมลงจะเป็นเรื่องธรรมดา และอาจมีขายตามร้านสะดวกซื้อทั่วไปก็ได้ รู้ไหมว่าตลาดแมลงมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่อง เพราะโลกกำลังประสบปัญหาการขาดแคลนอาหาร ทำให้คนต้องหันมาบริโภคแมลงกันมากขึ้น
ในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการแต่ละคน แรงบันดาลใจในการเริ่มต้นมักแตกต่างกันไป แต่เป้าหมายที่เหมือนกันคือรายได้และกำไรที่หล่อเลี้ยงให้ธุรกิจเดินหน้าต่อไป อเล็กซ์ หันสักดา หนุ่มอเมริกันเชื้อสายลาว เจ้าของธุรกิจร้านอาหาร “แซ่บแซ่บ” ในเมืองมิลวอกี้ รัฐวิสคอนซินเองก็เป็นหนึ่งในนั้น เพียงแต่เส้นทางสู่ธุรกิจร้านอาหารของเขาอาจมีคอนเซปต์ที่แตกต่างออกไป
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
ในปัจจุบันใครๆ ก็ขายออนไลน์ ทำให้มีร้านค้าออนไลน์เกิดขึ้นมากมายหลากหลายช่องทาง ในเมื่อมีร้านเกิดขึ้นเยอะก็ต้องมีคู่แข่งเยอะด้วยเช่นกัน ซึ่งทำให้เกิดการแข่งขันที่ไม่มีที่สิ้นสุด
จะถามว่าธุรกิจอะไรที่ทำเงินได้ดีในยุคนี้ ไม่ต้องคิดให้ปวดหัว เพราะมีไม่มากนัก และหนึ่งในนั้นคือ ธุรกิจคลังสินค้า (Warehouse) ของไทยเฉพาะปี 2563 ปีเดียวทำรายเกือบ 9 หมื่นล้านบาท
ปฏิเสธไม่ได้ว่าวิกฤตโควิดได้สร้างบาดแผลและรอยช้ำให้กับหลายธุรกิจ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าวิกฤตดังกล่าวก็กลับสร้างลู่ทางรายได้ใหม่ๆ ให้กับธุรกิจเช่นกัน
พาย้อนรอยไปว่าอะไรทำให้ธุรกิจครอบครัวเล็กๆ ถึงครองใจชาวสยามมากว่า 50 ปี และยังเป็นตำนานที่ยังมีลมหายใจ ที่เตรียมส่งไม้ต่อให้ทายาทรุ่นที่ 3 สร้างตำนานบทใหม่