ธุรกิจครอบครัวที่ผ่านรุ่น 3 ไปได้ต้องทำอย่างไร ? เราจะพาไปดูวิธี ‘ทรานฟอร์มธุรกิจให้รอด’ จาก 3 แบรนด์เก๋า: หอยนางรม - น่ำเอี๊ยง - เด็กสมบูรณ์" ที่ไม่เพียงรักษามรดกครอบครัวไว้ แต่ยังสร้างโอกาสใหม่ๆ อีกด้วย
เรื่องราวของ เฟิร์น - ศิลินลักษ์ ตุลยานันต์ CEO บริษัท ฟู้ด อีควิปเม้นท์ จำกัด ผู้นำเข้าและผลิตเครื่องจักรแปรรูปอาหาร ที่ครั้งหนึ่งเคยเกือบถูกไล่ออกจากบริษัทของตัวเอง จากความมุ่งมั่น และจริงจังในการทำงานที่มีมากเกินไปจนล้น เป็นยังไง ไปติดตามกัน
หนุ่มอุดร ได้ไอเดียจาก Home Mart ปั้นธุรกิจครอบครัว ก๋วยเตี๋ยวหมี่ขิด ให้โตเป็นระบบยั่งยืนกว่าทศวรรษ
ทายาทร้าน ก๋วยเตี๋ยวหมี่ขิด รวมพลังนำไอเดียระบบแนวคิดการทำธุรกิจสมัยใหม่ ทุ่มทุนกว่า 10 ล้าน ยกระดับร้านก๋วยเตี๋ยวเรือบ้านๆ เทียบเท่าราเม็ง เป็นร้านอาหารที่โด่งดังในจังหวัดอุดรธานี กลายเป็นธุรกิจที่สร้างความภาคภูมิใจให้กับครอบครัว
ครอบครัว คือ รากฐานสำคัญของการสร้างคนคุณภาพออกสู่สังคม แต่ขณะเดียวกันยังเป็นฐานรากให้ธุรกิจเติบโตได้เช่นกัน โดยเฉพาะธุรกิจในลักษณะที่เป็น “Family Business” การเกาะกันไว้ให้เหนียวแน่น ขณะเดียวกันก็หาจุดลงตัวของความคิดเห็น คือ วิธีสร้างธุรกิจครอบครัวที่แข็งแกร่ง
การเข้ามารับช่วงต่อจากธุรกิจที่บ้านเป็นเรื่องที่ท้าทายมาก สำหรับทายาท วันนี้เราเลยมี 6 วิธีเตรียมตัวรับมือ เมื่อต้องเข้ามารับช่วงต่อธุรกิจครอบครัวกัน เพื่อเป็นแนวทางให้กับคนที่กำลังเข้าช่วยที่บ้านทำธุรกิจ
การทำธุรกิจครอบครัวเป็นอะไรที่ต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์เข้ามาบริหารจัดการ วันนี้ชวนมาดูเทคนิคการบริหารธุรกิจครอบครัวไปกับ "พีระพัฒน์ เหรียญประยูร" จากธนาคารกสิกรไทยวิเคราะห์กัน
อะไรที่ทำให้รถอีแต๋นยังสามารถครองใจผู้บริโภคได้มาอย่างยาวนานไม่น้อยกว่า 50 ปี นี่คือไอเดียจาก ธนะธัช ตังคะประเสริฐ ทายาทรุ่นที่ 3 ของบริษัท ปราจีนบุรีประเสริฐพานิช ที่เหมือนฮีโร่กลับมาปลดล็อกธุรกิจครอบครัวที่กำลังเงียบเหงาให้กลับมามียอดขายคึกคักอีกครั้ง
สำหรับคนที่เป็นแฟนพันธุ์แท้เครื่องแต่งกายประเภทหมวก เชื่อว่าจะต้องเคยได้ยินชื่อ “Lock & Co” ร้านที่มีชื่อเสียงและเก่าแก่สุดในโลก จนถึงปัจจุบัน เปิดบริการมานาน 345 ปีแล้ว ทั้งยังเป็นธุรกิจที่ครอบครองโดยทายาทของเจ้าของเดิมผู้ก่อตั้งอีกด้วย
เวลาเราได้ยินคำว่า “ธุรกิจครอบครัว” สิ่งแรกที่นึกถึงก็คือธุรกิจกงสี การแบ่งผลประโยชน์แบบครอบครัว ปัญหาระหว่างกลุ่มครอบครัวที่ทำงานด้วยกัน พนักงานเก่าแก่ที่ไม่ฟังคนรุ่นใหม่
ทายาทธุรกิจเครื่องกรองน้ำที่เคยโด่งดังในอดีต ทว่าด้วยพิษวิกฤตเศรษฐกิจปี 40 ทุกอย่างกลับพังครืนลง สาขาถูกปิด ธุรกิจกลายเป็นหนี้ ต้องตัดสินใจพลิกมาทำผ้าม่าน แต่ถูกเสนอเงินเดือนให้แค่ 5 พันบาท เขากัดฟันสู้จนได้ธุรกิจร้อยล้านในวันนี้
จากสภาพเศรษฐกิจในยุคปัจจุบัน ข้ามปีที่เรียกว่า ย่ำแย่สุดๆ ปีหนึ่ง ตอนนี้ผู้ประกอบการต้อง "ปากกัด-ตีนถีบ" เมื่อลงมือทำไม่พอก็ต้องใช้วาจาช่วยสู้กับปัญหาต่างๆ และถีบตัวเองให้พ้นจากปัญหา แล้วก้าวไปข้างหน้าให้ได้
การลืมตาอ้าปาก ในปัจจุบันหนักหนาสาหัสเอามากๆ จะเริ่มอะไรมากก็ไม่ได้ ต้องคิดรอบด้านว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ ทำยังไงให้อยู่รอดและมั่นคง หรือได้แต่ประคองให้ได้รับผลกระทบให้น้อยที่สุด