ในสนามแข่งขันธุรกิจออนไลน์อันดุเดือด การจะอยู่รอดในธุรกิจนี้ได้ต้องทำอย่างไร ลองมาฟัง "วัชระ ทองสุข" CEO บริษัทฟอร์มี จำกัด เจ้าของธุรกิจขายสินค้าของแต่งบ้านผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ที่เริ่มต้นขึ้นมาจากศูนย์ จนสร้างรายได้กว่า 700 ล้านบาทกัน
หากยิงคำถาม ถามผู้ประกอบการในวิสาหกิจชุมชน หรือกลุ่ม OTOP ว่าตัองการพัฒนาธุรกิจด้านใด คำตอบส่วนใหญ่ที่ได้มักเป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ อยากทำสินค้าให้สวย ดูดีเพื่อส่งออกไปต่างประเทศ โดยหารู้ไม่ไม่ว่านั่นอาจเป็นกับดักที่นอกจากไม่ทำให้เกิดกำไรแล้วสิ่งที่เกิดขึ้นอาจกลายเป็นขยะทางธุรกิจ
เมื่อโลกการค้าเปลี่ยนมาอยู่บนช่องทางออนไลน์ หรืออีคอมเมิร์ซมากยิ่งขึ้น การขายหลายช่องทาง คือ การเพิ่มโอกาสให้กับธุรกิจ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะบริหารจัดการทุกอย่างให้ลงตัวได้
ในอดีตเราอาจเลี้ยงสัตว์เพื่อให้เป็นเพื่อน หรือไว้คลายเหงา แต่ปัจจุบันการเลี้ยงสัตว์เลี้ยง เช่น หมา, แมว กลับต่างออกไป มีการดูแลเหมือนสมาชิกคนหนึ่งในครอบครัว ทำให้หลายคนรักสัตว์เลี้ยงเหมือนลูก ซึ่งเรียกว่า “Pet Humanization”
จากกระแสบริโภค Plant based ที่กำลังมาแรง “โรแยล พลัส” หรือ "Plus" บริษัทส่งออกน้ำมะพร้าวและน้ำนมมะพร้าว จึงได้คิดค้นพัฒนา “โคโคนัท โยเกิร์ต” นอกจากเอาใจผู้บริโภคสายกรีนแล้ว ยังสามารถเก็บรักษาได้นานถึง 18 เดือน โดยไม่ต้องแช่เย็นด้วย
เวลาพูดถึงการท่องเที่ยวเกาหลี หลายคนก็จะนึกถึงแสงและความโมเดิร์น นึกถึงย่านช้อปปิ้ง แต่รู้ไหมว่าจริงๆ แล้วคนเกาหลีกลับมีวิธีทำการตลาด ขายสินค้าได้อย่างน่าสนใจเช่นกัน
ความสำเร็จของการบริหารและจัดการธุรกิจแบบ TOYOTA กลายมาเป็นองค์ความรู้ และตำราที่ถูกเขียนขึ้นมาหลายต่อหลายเล่ม จนถึงการจัดตั้ง “ศูนย์การเรียนรู้โตโยต้า ธุรกิจชุมชนพัฒน์” เพื่อเป็นต้นแบบสู่ภาคธุรกิจอื่นๆ
“คนที่จะสำเร็จได้ต้องมีความทะเยอะทะยาน ต้องคิดให้ใหญ่ ทำให้ได้ และอย่ายอมแพ้” คาถาความสำเร็จของหญิงแกร่งจากทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช ดร.พรรณนิภา โอฬารธัมมะกิตติ์ (บี) นับเป็นอีกหนึ่งคนในวงการธุรกิจที่เริ่มต้นจากศูนย์แต่สามารถฝ่าฟันจนมีธุรกิจพันล้าน
หนึ่งในวิธีที่จะทำให้ธุรกิจเติบโตคือการส่งออก แต่รู้ไหมว่าในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ประกอบการ SME ในระบบประมาณ 3.1 ล้านราย กลับเป็นผู้ส่งออกไม่ถึง 1% หรือประมาณ 3 หมื่นรายเท่านั้น
เป็นข่าวดังกันขึ้นมาอีกครั้งกับกรณีปัญหาการขาย Voucher บุฟเฟ่ต์ราคาถูกเพื่อจูงใจลูกค้า ล่าสุดที่กำลังเป็นกระแสอยู่ ก็คือ “ดารุมะ ซูชิ (Daruma Sushi)”
ต้องยอมรับว่าวิกฤต โควิด-19 ไม่เพียงแต่สร้างผลกระทบต่อสุขภาพ ยังสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจมูลค่ามหาศาล ภาคธุรกิจจำนวนมากจำเป็นต้องปิดกิจการ แต่ในขณะเดียวกัน โควิด-19 นั่นเอง ที่ได้สร้างการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ทั้งยังมอบ ‘บทเรียน’ แก่ภาคธุรกิจให้พร้อมรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยสิ่งหนึ่งที่ช่วยให้ธุรกิจสามารถขับเคลื่อนต่อไปได้คือ เทคโนโลยี นวัตกรรม