ถึงมีทุนเริ่มต้นทำธุรกิจน้อย ก็สามารถยิ่งใหญ่ได้ เหมือนที่ อดัม ลู เริ่มต้นซื้อรถเข็นเล็กๆ ราคาประมาณ 5,000 บาทจากห้างอิเกียมาทำร้านขายหอยนางรมสดที่ชื่อว่า The Oyster Cart
ไม่มีบริษัทไหนที่ทำงานได้ด้วยตัวเองคนเดียว ทุกคนต้องมี Partner คนเล็กๆ หลายคนร่วมกันก็มีพลังมหาศาล
โอ้กะจู๋ พัฒนาธุรกิจอยู่เสมอ ด้วย Passion อุดมการณ์ที่ไม่แปรเปลี่ยนไปตามกระแส ทำในสิ่งที่ถนัดแบบค่อยเป็นค่อยไป คุณภาพคือหัวใจสำคัญ พร้อมยกระดับมาตรฐานความสะอาดที่ผู้บริโภคมองหา ตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายช้อน
เมื่อผู้คนเริ่มเรียนรู้ที่จะทดลองใช้ชีวิตวิถีใหม่ทั้งรูปแบบที่มีข้อจำกัดและไร้ซึ่งข้อจำกัด ได้มีเวลาอยู่กับบ้านมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ คือ การทดสอบมนุษย์ให้ลองออกจากกรอบเดิมๆ ที่เคยทำ จึงไม่แปลกที่วันนี้หลายคนจะลุกขึ้นมาเลือกทางเดินชีวิตตัวเอง
ในการเติบโตทางธุรกิจนั้นมีรูปแบบที่น่าหลงใหลอยู่ นั่นก็คือ เติบโตแบบก้าวกระโดด (Exponential Growth) ด้วยกลยุทธ์ Scale Up การปรับปรุงและหรือขยายองค์กรด้วยวิธีและรูปแบบการทำงานให้สามารถมีประสิทธิผลมากว่าทรัพยากรที่ใช้ไป
โลกออนไลน์กลายเป็นทางรอดของหลายธุรกิจในยุคโควิด “Sticky” เป็นร้านลูกอมแฮนด์เมดในออสเตรเลียเป็นหนึ่งในนั้น หลังจากยอดหายหดจนเหลือ 0 ร้านก็ได้เริ่มโพสต์กระบวนวิธีการทำขนมอันน่าตื่นตาตื่นใจของร้านลงบนโซเชียลมีเดีย
ย้อนกลับไปเกือบ 10 ปีก่อน “calligrapher” หรือ “นักออกแบบตัวอักษรผ่านลายมือ” เป็นอาชีพที่ยังไม่เป็นที่รู้จักในสิงคโปร์ แต่ปัจจุบัน ธุรกิจเกี่ยวกับ calligrapher เริ่มมีให้เห็นประปราย
ไม่ได้ดังแค่จาก ลิซ่า BLACKPINK แต่ "Asava" ยังเป็นแบรนด์แฟชั่นไทยระดับโลกที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ พอๆ กับเรื่องราวชีวิตของ "หมู อาซาว่า" เจ้าของแบรนด์ที่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ชีวิตไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
หลายคนคงนึกไม่ถึงแน่ๆ ว่าวันหนึ่ง “อายิโนะโมะโต๊ะ” แบรนด์ผงชูรสที่แสนจะคุ้นหู จะบุก “วงการไอที” ที่แสนจะห่างไกลจากธุรกิจอาหาร ด้วยการหันมาจริงจังกับการผลิตฟิล์ม ABF สำหรับใช้ในคอมพิวเตอร์
TikTok ได้นำร่องให้ผู้ค้าใน Shopify ที่มีบัญชี TikTok For Business จะสามารถเพิ่มแท็บ “Shopping” ไว้บนหน้าโพรไฟล์ TikTok ซึ่งจะเชื่อมต่อกับแคตตาล็อกสินค้าและกดสั่งซื้อได้ทันที เหมือนที่ Facebok หรือ Instagram มีในตอนนี้
กระแสชาตินิยมของจีนประทุขึ้นมาอีกระลอกช่วงเกิดวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ที่มณฑลเหอหนานช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา และ“เออร์เก้” (ERKE) ที่ล้มลุกคลุกคลานและประสบอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจมาตลอดกลับมอบเงินบริจาคถึง 50 ล้านหยวน
การกักตัวอยู่ที่บ้านนานๆ ทำให้ประชาชนเกิดความเบื่อหน่ายจึงเปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์หรือตกแต่งบ้านใหม่เพื่อสร้างบรรยากาศไม่ให้จำเจ IKEA จึงออกแคมเปญ Buy Back รับซื้อสินค้าใช้แล้วจากลูกค้ามาขายต่อ ที่กลายเป็นว่าแบรนด์ได้รับผลประโยชน์หลายต่อเลยทีเดียว