“The Compressionalist” หรือภาวะหมดไฟช้อปของผู้บริโภค เทรนด์พฤติกรรมของผู้บริโภคยุคใหม่ ที่เกิดขึ้นจากผลกระทบความตึงเครียดจากภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ วิกฤตโรคร้ายโควิด-19 จนทำให้ผู้บริโภคเกิดความเบื่อหน่าย ล่ามมาถึงแม้การเลือกซื้อสินค้าที่ต้องการความง่าย สะดวกขึ้น
โดยทั่วไปแล้วหลักการออกแบบโรงแรม ห้องพักควรให้ความสะดวกสบายเหมือนอยู่ที่บ้าน แต่ ชุบ-อนุสิทธิ์ สหะโชค ผู้บริหารโรงแรม “เป๊กกี้ โคฟ รีสอร์ท” (Peggy’s Cove Resort) กลับไม่คิดเช่นนั้น เขามองว่าการสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า คือ สิ่งที่สำคัญมากกว่า
ปีนี้ผลกระทบจากโรคระบาดทำให้เศรษฐกิจชะงักงัน สถานการณ์ดังกล่าวทำให้คนทำธุรกิจต่างต้องการความเปลี่ยนแปลง และสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ นี่ล่ะที่จะปูทางให้ธุรกิจเดินต่อไปได้นับจากนี้
ในช่วงที่ผ่านมามีการพูดถึง “Design Thinking” หรือ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ว่าจะเป็นหนึ่งในคำตอบ และทางออกที่จะทำให้ธุรกิจเข้าใกล้ความสำเร็จ ปรับปรุงการทำงานได้ดีขึ้น และช่วยให้สินค้าที่ทำออกมาขายได้
ในการทำธุรกิจ บางทีก็ต้องเจอกับ Nagative Feedback หรือความคิดเห็นในแง่ลบกันบ้าง เพราะคุณคงไม่สามารถทำให้คนบนโลกนี้ประทับใจได้ทั้งหมด
ความท้าทายอย่างยิ่งยวดของผู้ประกอบการ เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ไม่ใช่เพียงแค่การคิดกลยุทธ์ เพื่อรับมือกับปัญหา และประคับประคองกิจการให้อยู่รอดได้เท่านั้น แต่ยังรวมถึง “การจัดการการสื่อสารในภาวะวิกฤต” (Crisis Communication Management) ได้ด้วย
ทำธุรกิจยุคนี้ถ้าจะให้ “รอด” และ “รุ่ง” ผู้ประกอบการจะทำธุรกิจหลักอย่างเดียวอาจไม่พอ ทว่าต้องสร้างบริการเสริม หรือต่อยอดธุรกิจรองขึ้นมาเพื่อเพิ่มเม็ดเงินในกระเป๋าด้วย
เรากำลังก้าวเข้าสู่ยุคที่ใครหลายคนเรียกว่ายุค Disruption เทคโนโลยีต่างๆ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจนทำให้ผู้ประกอบการหลายคนไม่รู้จะทำอย่างไรดีในช่วงเวลาที่การทำธุรกิจเป็นเรื่องที่ยากยิ่ง โดยเฉพาะผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่มที่มีการแข่งขันสูงแถมพฤติกรรมของผู้บริโภคยั..
เพราะเห็นความทุกข์ของผู้ป่วยติดเตียงที่ทำให้คนรอบข้างเหมือนป่วยตามไปด้วย ทำให้ชายคนหนึ่งลุกขึ้นมา สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ที่เรียกว่าเตียง All in one เพื่อหวังฟื้นคืนชีวิตแก่ผู้ป่วยติดเตียงให้ยิ้มได้อีกครั้ง
เขาว่าย่านการค้าเก่าแก่กำลังจะตาย คนค้าขายในแต่ละย่านใกล้จะหมดลมหายใจเต็มทนแล้ว เมื่อกิจการที่เคยขายดี ลูกค้าต่างวิ่งเข้าหา วันนี้หลายแห่งลูกค้ากลับบางตา บางแห่งถึงขนาดต้องขึ้นป้าย “เซ้ง” เลยก็มี
ไม่ว่าจะยุคนี้หรือยุคที่ผ่านมา กุญแจสำคัญของการทำตลาดยังคงหนีไม่พ้นเรื่อง “ความเข้าใจลูกค้าอย่างลึกซึ้ง” ซึ่งวันนี้หมดยุคเดาความต้องการ แต่ต้องรับฟังสิ่งที่ลูกค้าเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
เป็นเวลาเกือบ 2 ทศวรรษที่ ภาวุธ พงษ์วิทยภานุ ผู้ก่อตั้ง Tarad.com เดินอยู่บนเส้นทางสายอี-คอมเมิร์ซ ในยุคที่อี-คอมเมิร์ซเมืองไทยกำลังเข้าสู่ความท้าทายครั้งใหม่ในสายตาผู้ที่ผ่านร้อนผ่านหนาวเขามองเห็นการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ไปฟังคำตอบกัน