การบริโภคเนื้อสัตว์ผลักดันให้โลกมีภาวะโลกร้อน ส่งผลให้ Plant-based food ที่เป็นทางเลือกเติบโตในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ต่อไปนี้เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ Plant-based food ที่น่าสนใจ
“ลูลู่เลม่อน” (Lululemon) แบรนด์ที่แจ้งเกิดได้สำเร็จ แต่ต้องเจอเรื่องดราม่ามากมาย รวมทั้งการบริหารงานพลาดของ CEO จนถูกขับไล่ออก กระทั่งได้ผู้บริหารคนใหม่ใช้กลยุทธ์ ”Power of Three” ทำให้แบรนด์กลับมาผงาดในวงการแฟชั่น Athleisure ได้ แถมครองใจผู้บริโภคจนเข้าปีที่ 25 แล้ว
ครอบครัว คือ รากฐานสำคัญของการสร้างคนคุณภาพออกสู่สังคม แต่ขณะเดียวกันยังเป็นฐานรากให้ธุรกิจเติบโตได้เช่นกัน โดยเฉพาะธุรกิจในลักษณะที่เป็น “Family Business” การเกาะกันไว้ให้เหนียวแน่น ขณะเดียวกันก็หาจุดลงตัวของความคิดเห็น คือ วิธีสร้างธุรกิจครอบครัวที่แข็งแกร่ง
จากสภาวะโลกร้อน กำลังจะทำให้อาหารทะเลกว่า 90% บนโลกหายไป ด้วยเหตุนี้ Nippon Ham ผู้ผลิตอาหารญี่ปุ่นรายใหญ่ จึงเป็นรายแรกที่เข้าสู่ตลาด Plant-Based Seafood เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภค
บริษัท เจริญอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) หรือ CH หนึ่งในผู้นำที่อยู่ในแวดวงธุรกิจอาหารมานานกว่า 98 ปี แต่องค์กรมีความทันยุคทันสมัยตลอดเวลา ส่งขนมสุขภาพแบรนด์น้องใหม่อย่าง “Bangkok Tasty by CH” เข้าสู่ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ต่อจากแพลนต์เบสเจอร์กี้ แบรนด์ Meble
บ้านโป่งทาปิโอก้า” โรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังอายุกว่า 50 ปี ที่พลิกตัวเอง โดยปรับ Mindset จากผู้ผลิตแป้ง มาเป็น Food Texture Solution ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการผลิตแป้งนวัตกรรมต่างๆ เปลี่ยนธุรกิจให้เติบโตเป็นหลักพันล้านบาทได้
ศูนย์วิจัยธนาคารกรุงไทย ประเมินว่าในปี 2567 ตลาดแพลนต์เบสประเทศไทยจะอยู่ที่ 45,000 ล้านบาทหรือโตเฉลี่ยที่ 10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ทำให้มีผู้เล่นมากมายที่หันมาสนใจตลาดนี้โดยเฉพาะธุรกิจรายใหญ่ที่มีความพร้อมทั้งเครื่องมือและกำลังทุน นี่คือ 2 วิธีที่จะพา SME ที่อยากตีตลาดหมื่นล้านนี้โดยไม่ต้องเสียเปรียบผู้เล่นรายใหญ่
มีผลการศึกษาใหม่ชี้ให้เห็นว่าเนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการนั้นทำลายสภาพอากาศกว่าเนื้อวัวจริงถึง 25 เท่า!
จากรายงานของ The New York Times กล่าวว่าเจ้าของสัตว์เลี้ยงหลายคนในสหรัฐอเมริกากำลังเลิกให้อาหารเม็ดหรืออาหารแห้งแก่สัตว์เลี้ยงแล้ว และพยายามคัดสรรเกรดอาหารให้ใกล้เคียงกับอาหารของมนุษย์มากขึ้น แม้จะมีราคาแพงกว่า แต่ก็ยอมจ่าย เพราะเชื่อว่าดีต่อสุขภาพมากกว่าอาหารแบบดั้งเดิม
เจตนาที่ต้องการช่วยเกษตรขายข้าวได้กิโลกรัมละไม่กี่บาท กลายเป็นการจุดประกายให้ ณภัทร อินทรเสน และ ฐิตารีย์ ทวาสินฐิติทัช สองสามีภรรยาหันมาทำธุรกิจเดลิเวอรี ผ่านไปเพียงสองปี กิจการที่คิดว่าทำฆ่าเวลา สามารถทำรายได้ถึงเป้า 5 แสนติดกัน 3 เดือน สู่การเปิดหน้าร้านที่เมืองทองธานีที่ยังคงไปได้ดี
จากข่าวที่ Influencer บางคนถูกวิพากษ์วิจารณ์ตั้งแต่การขอกินฟรี บ้างก็อวยเกินยศ หรือพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่ดีต่อสุขภาพ ทำให้เกิดกระแส De-Influencing ขึ้นมา รีวิวแบบตรงๆ ไม่ป้ายยา เทรนด์นี้ส่งผลกระทบต่อ SME อย่างไรไปหาคำตอบกัน
“ครัวมรกตโฮมคุ๊กกิ้ง” คือ ร้านอาหารถิ่นในอ.ตะกั่วป่า จ.พังงา ที่เอาวิธี Chef Table มาจัดการร้านด้วยความรักในอาชีพ เพื่อไม่ให้เสียสมดุลชีวิต โดยร้านเน้นวัตถุดิบตามท้องตลาด ใช้เคล็ดลับสร้างรสชาติอาหารอร่อย ด้วยการรู้จักวัตถุดิบ ขายมื้อเย็นแค่วันละโต๊ะเดียวเท่านั้น