ครั้งหนึ่งความคิดที่จะออกไปหาอะไรกินคนเดียวตามร้านอาหารดูเหมือนเป็นสถานการณ์ที่น่าเห็นใจ และสร้างความประหลาดใจให้ผู้พบเห็นโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้าไปในร้านที่มีโต๊ะสำหรับนั่งกินสี่คนมากกว่านั่งกินตามลำพัง
ในยุคดิจิทัลนี้อีกหนึ่งตลาดที่น่าสนใจคือ ตลาดอีสปอร์ต เป็นตลาดที่เติบโตอย่างต่อเนื่องเฉลี่ยปีละไม่ต่ำกว่า 10 เปอร์เซ็นต์ และมีการคาดการณ์ภายในปี 2564 ตลาดอีสปอร์ตในไทยจะมีเม็ดเงินทะลุ 30,000 ล้านบาท
ช่วงเวลาของการเผชิญหน้ากับสถานการณ์โควิด-19 โฮสเทลย่านเมืองเก่าที่ชื่อ “Beehive Phuket Old Town Hostel” ปรับกลยุทธ์ธุรกิจ โดยใช้เวลาแค่ 2 เดือน คิดสูตรบะหมี่ออร์แกนิก สร้างแบรนด์ “บะหมี่จินหู่” ที่สามารถโตได้ถึง 200 เปอร์เซ็นต์
ในสมัยก่อนโรงแรมส่วนใหญ่จะใช้การขายตรงผ่านโบรชัวร์ที่นำไปแจกให้กับ Agency หรือหน่วยงานต่างๆ เป็นหลัก แต่ทว่าเมื่อเข้าสู่ยุคโลกาภิวัตน์ กระแสผู้บริโภคเปลี่ยนมีการถามถึงเว็บไซต์ของโรงแรมมากขึ้น จึงได้เวลาปรับหน้าเว็บโรงแรมสู่ OTA
“ตงศิริฟาร์ม” (TongSiri Farm) ฟาร์มเกษตรแบบผสมผสาน ที่มีทั้งผืนนา พื้นที่เลี้ยงสัตว์ และทำสวน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และตั้งอยู่บนพื้นฐานความปลอดภัยของผู้บริโภคเป็นหลัก
โลกของ “ผัก” ไม่ได้จำกัดอยู่แค่พืชผักที่ปลูกกันบนบกเท่านั้น เพราะ “ผักจากทะเล” ที่คนอาจเหมารวมเรียกว่า สาหร่ายทะเล กำลังเป็นเทรนด์อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและดีต่อสุขภาพมากกว่าอีก
ธุรกิจโรงแรมเริ่มมีสัญญาณ Oversupply มาตั้งแต่ก่อนโควิด-19 ด้วยซ้ำ โดยเฉพาะโรงแรมขนาดกลางและประหยัด ยิ่งมาถูกซ้ำเติมด้วยพิษโควิด สถานการณ์ก็ยิ่งรุนแรงขึ้น จนนำไปสู่ปัญหาผิดนัดชำระหนี้ และมีสัดส่วนหนี้เสียเพิ่มสูงขึ้นตั้งแต่ช่วงต้นปี 2020
มีสัญญาณให้เห็นชัดเจนว่าในช่วงโควิดที่ผ่านมา กลุ่มสินค้าที่เป็นอาหารเกี่ยวกับสุขภาพได้รับความสนใจมากขึ้น นอกจากนี้กลุ่มสินค้าที่มาแรง และเป็นอนาคตของผู้ส่งออกอาหารไทย ก็คือแพลนต์เบส (Plant-based Food) อาหารจากพืช ซึ่งกำลังเติบโตอย่างมากในตลาดโลก
สถานการณ์โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อตลาด “พื้นที่สำนักงานให้เช่า” (Occupied Area) ในปี 2021 ที่คาดว่าจะชะลอตัวลง บวกกับเทรนด์การทำงานแบบ Work From Home บางบริษัทก็มีแนวโน้มจะใช้ต่อเนื่องในระยะยาวแม้จะคลายล็อกดาวน์
โลกธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงที่ยากจะคาดเดาได้ ตลอดจนสถานการณ์โควิด-19 ที่ยังคงยืดเยื้ออยู่ในระดับโลก ที่นับเป็นตัวเร่งให้เกิดความท้าทายภายใต้บริบทใหม่ในยุค Next Normal ที่ทำให้ผู้ประกอบการต้องเร่งปรับตัว เพื่อรับมือกับความเปลี่ยนแปลง
ในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถสูง เป็นคนที่ใช่ (Right People) สำหรับองค์กร ต้องมีการกำหนดคุณสมบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติสำคัญที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ ไป พอสรุปได้เป็นโมเดลที่เรียกว่า “Good-Can-Want Model”
“ปีเตอร์ ดรักเกอร์” กูรูด้านการบริหารจัดการผู้ล่วงลับ กล่าวไว้ว่า “พนักงานที่ลาออก ส่วนใหญ่ไม่ใช่เพราะองค์กร แต่ออกเพราะหัวหน้า” ยังคงเป็นความจริงที่น่าเกลียดสำหรับหลายๆ องค์กร