ธพว.พร้อมช่วยเหลือเคียงข้างผู้ประกอบการเอสเอ็มอีที่ประสบอุทกภัยพายุโซนร้อนฮีโกส ออก 2 มาตรการเร่งด่วน ให้สิทธิพักชำระหนี้ 6 เดือน และเติมทุนดอกเบี้ยต่ำพิเศษ นำไปใช้หมุนเวียนฟื้นฟูธุรกิจ
ในบางครั้งการมาถึงของวิกฤตอาจทำให้บางธุรกิจถึงคราวล่มสลาย แต่ขณะเดียวกันก็ทำให้ธุรกิจที่ดิ้นรนต่อสู้ ได้ค้นพบหนทางสว่างที่เหมือนได้เกิดใหม่อีกครั้ง เช่นเดียวกับ “นกฟินิกซ์” ที่ก่อเกิดจากเถ้าถ่าน กลายเป็นธุรกิจที่สดใหม่และไฉไลยิ่งกว่าเก่า
“วิเศษไก่ย่าง” คือร้านอาหารในตำนาน ที่เสิร์ฟความอร่อยมา 66 ปี จากร้านห้องแถวไม้เล็กๆ กลายเป็นภัตตาคารลุคทันสมัย ขยายธุรกิจไปสู่บริการรับจัดเลี้ยงทั้งในและนอกสถานที่ บริการเดลิเวอรี่ และเร็วๆ นี้ก็กำลังจะขยายไปสู่กลุ่ม Frozen Food
นี่ไม่ใช่แค่โรงแรมที่พัก หรือร้านอาหารที่มีวิวสวยๆ แต่ยังเป็นฟาร์มผักออร์แกนิก เป็นที่ปั่นจักรยาน พายเรือคายัค ว่ายน้ำ ชมพระอาทิตย์ตก หรือแม้แต่จัดงานแต่งงานสุด Exclusive บนเกาะส่วนตัว ที่แห่งนี้คือ “อินเลญา”
หลังจากมีมาตรการปิดเมืองเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID-19 ตั้งแต่เดือนมีนาคม จำนวนผู้ติดเชื้อเริ่มเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลงในหลายประเทศ ทำให้ภาครัฐเริ่มกลับมาเปิดเมืองอีกครั้งในช่วงเดือนพฤษภาคม มาตรการปิดเมือง ส่งผลให้เกิดการหยุดชะงักของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและภาวะวิ่งเข้าหาเงิ..
ศิริวัฒน์ วรเวทคุณวุฒิคุณ เจ้าของศิริวัฒน์แซนด์วิช จากคนเคยรวย เป็นมนุษย์ทองคำ เจอวิกฤตต้มยำกุ้งจนกลายเป็นบุคคลล้มละลาย เมื่อเจอวิกฤตไวรัสโควิด-19 เขาเรียนรู้และปรับตัวอย่างไร? ไปหาคำตอบเรื่องนี้กัน
ธพว. ผนึก กรมสรรพากร และ IEC ปูพรมเติมความรู้คู่ทุน จัดสัมมนาออนไลน์ “รีบูตธุรกิจท่องเที่ยว สู้ภัยโควิด-19” ฟรี หนุนเอสเอ็มอีธุรกิจท่องเที่ยวทั่วไทย เข้าสู่มาตรการบัญชีเดียวควบคู่เข้าถึงสินเชื่อรายเล็ก Extra Cash ดอกเบี้ยพิเศษ ไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค้ำประกัน เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน..
รมว.อุตสาหกรรม มอบนโยบายให้ ธพว. เดินหน้าเติมทุนสินเชื่อเงื่อนไขพิเศษช่วย SME ตั้งเป้าอนุมัติสินเชื่อ 40,000 ล้านบาท ช่วย SME ได้ 24,000 กิจการ รักษาการจ้างงาน 120,000 ราย สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจกว่า 90,000 ล้านบาท
ธพว.ยกขบวนช่วยเหลือ SME ฝ่าวิกฤตโควิด-19 ชูแนวทางให้ “ความรู้คู่ทุน” แจงด้านการเงิน เยียวยาลดภาระค่าใช้จ่าย บรรเทาผลกระทบไปแล้วกว่า 4 หมื่นราย
การทำเดลิเวอรี ไม่ใช่เรื่องง่ายอย่างที่คิด มีปัญหาจุกจิกกวนใจซุกซ่อนอยู่มากมาย วันนี้เรามีเหรียญอีกด้านที่ผู้ประกอบการต้องรู้ก่อนเข้าสู่วงการ Food Delivery มาฝากกัน
ไม่ว่าจะเวลาไหน เรื่องเงินก็ยังยืนหนึ่งในใจของคนทำธุรกิจอยู่เสมอ ยิ่งในช่วงนี้ที่ต้องลำบากเพิ่มขึ้นอีกหลายเท่าตัว การรับมือและจัดการกับกระแสเงินสด หรือ Cash Flow จึงเป็นอะไรที่ต้องมีมากกว่าแค่ความใส่ใจ
สิ่งสำคัญที่สุดในวันที่ธุรกิจต้องเผชิญกับภาวะวิกฤต คือ เงินสด โดยผู้ประกอบการทุกคนรู้ว่าตัวเองมีเงินอยู่ในมือเท่าไร แต่น้อยคนนักจะรู้ว่าเงินที่มีอยู่ในบัญชีนั้นจะทำให้ธุรกิจอยู่ได้นานแค่ไหน ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่ไม่มีรายได้เข้ามาเลย จนทำให้ตั้งรับกับเหตุการณ์วิกฤตไม่ทัน