เคยคิดไหมว่าแม้แต่สินค้าสายบุญอย่างผ้าดิบบริจาค ที่ใช้เพื่อห่อหุ้มร่างผู้เสียชีวิตก็สามารถสร้างแบรนด์ขึ้นมาได้เหมือนกัน เหมือนเช่นที่ “สุคติ” แบรนด์ผ้าดิบบริจาคของ อรรถพล ลีนะวัฒนา หนุ่มอาร์ตติสอารมณ์ดีกำลังทำอยู่ในขณะนี้
ต่อให้เก่งแค่ไหน การยืนหยัดต่อสู้ทำธุรกิจเพียงลำพังในยุคที่สภาวะเศรษฐกิจตกต่ำก็เป็นเรื่องยากลำบาก ฉะนั้น จะสู้เพียงลำพังไปทำไม ลองมองซ้ายมองขวาหาพันธมิตรธุรกิจที่ไม่ใช่แค่เพียงพาธุรกิจให้รอด แต่จะสามารถไปได้ไกลและขยายได้มากกว่าที่คิดไว้
ยุคนี้จะทำไข่เค็มธรรมดาได้ที่ไหน ถ้าอยากขายดีขายรุ่งในยุคโควิดก็ต้องรู้จัก “คิดต่าง” และใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วย นี่คือ ไข่แดงเค็มผงสำเร็จรูปพร้อมปรุง และผงปรุงรสไข่เค็ม ที่กลายเป็นทางเลือกความอร่อยของยุคใหม่
“แหนมดอนเมือง กม.26” แบรนด์แหนมดังอายุกว่า 40 ปีที่วันนี้ได้ลุกขึ้นมาปรับลุคสร้างคอนเทนต์ให้ดูทันสมัยมากยิ่งขึ้น เพื่อเอาใจผู้บริโภคกลุ่มคนรุ่นใหม่ เรียกว่าแว้บแรกที่เห็นหากไม่เห็นโลโก้แหนมดอนเมืองที่ติดอยู่คงคิดว่านี่คือการเปิดตัวเกิร์ลกรุ๊ปวงใหม่ไปแล้ว
ทำอย่างไรถึงจะเอาตัวรอด และข้ามผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้ และอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล มาฟังตัวอย่างการปรับตัวจากแฟรนไชส์เจ้าดังระดับเจ้าของรางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ไทยอย่าง “Mango Mania” และ “D’ORO” กัน
ไม่เคยมีวิกฤตครั้งใดเลยที่จะรุนแรงเท่าโควิด-19 ถึงขั้นทำให้ทุกอย่างต้องหยุดชะงักลง ปริมาณแขกเข้าพักเท่ากับศูนย์ จึงทำให้ พัชรนันท์ เลิศพัชรีไชย เจ้าของ Le Pes Villas Resort Khanom ต้องคิดหาวิธีเอาตัวรอดจากวิกฤตอย่างเร่งด่วน
Business Ecosystems มีข้อดีมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับธุรกิจขนาดเล็ก หรือ SME ซึ่งมักมีทรัพยากรจำกัดและอาจขาดอำนาจต่อรอง ทำให้อาจพลาดข้อได้เปรียบต่างๆ เฉกเช่นเดียวกันกับที่ธุรกิจขนาดใหญ่พึงได้รับ
นับเป็นอีกหนึ่งข่าวเศร้าของวงการธุรกิจไทยกับการประกาศปิดกิจการของโรงงานน้ำตาลกุมภวาปีที่อยู่คู่เมืองอุดรธานีมานานกว่า 58 ปี เพื่อเป็นการร่วมส่งท้ายอีกหนึ่งตำนานน้ำตาลเมืองอุดรธานี วันนี้จึงขอนำเสนอเรื่องราวโรงงานน้ำตาลแห่งนี้ให้ได้รู้จักกัน
ธุรกิจดาวเด่นในช่วงเดือนเมษายน 2564 ที่ผ่านมา พบหนึ่งโอกาสธุรกิจหอมหวาน ที่สำคัญแม้แต่ SME ไซส์เล็กก็มีโอกาสทำกำไรได้กว่าครึ่ง นั่นคือ “ธุรกิจขายปลีก-ส่ง สินค้าทางเภสัชภัณฑ์และการแพทย์”
ช่วงเวลาของการเผชิญหน้ากับสถานการณ์โควิด-19 โฮสเทลย่านเมืองเก่าที่ชื่อ “Beehive Phuket Old Town Hostel” ปรับกลยุทธ์ธุรกิจ โดยใช้เวลาแค่ 2 เดือน คิดสูตรบะหมี่ออร์แกนิก สร้างแบรนด์ “บะหมี่จินหู่” ที่สามารถโตได้ถึง 200 เปอร์เซ็นต์
เป็นที่ทราบกันดีว่า หลังวิกฤตโควิดระลอก 3 ธุรกิจเริ่มทยอยล้มหายตายจากไปไม่น้อย แต่รู้หรือไม่ว่าท่ามกลางความเหนื่อยยากนั้น มีประเภทธุรกิจที่ใกล้เคียงกันอย่าง “ธุรกิจกาแฟ” กลับยังอยู่รอดต่อไปได้ เพราะการปรับตัวที่ยืดหยุ่นกว่า
“Patagonia” แบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นเอาท์ดอร์ที่มีแนวทางการทำธุรกิจสุดแหวก จากครั้งหนึ่งเคยประกาศลงโฆษณาหน้าหนังสือพิมพ์ว่าอย่าซื้อสินค้าของตัวเอง จนล่าสุดเปิดร้านขายเสื้อผ้ามือสองควบคู่กับของสินค้าใหม่