ในยามที่เกิดวิกฤตนับเป็นความท้าทายของผู้ประกอบการ SME อย่างยิ่ง ที่จะต้องนำพาองค์กรข้ามผ่านวิกฤตนั้นไปให้ได้ โดยที่องค์กรยังแข็งแกร่ง ลูกค้ายังภักดี ขณะที่พนักงานก็ยังคงมีไฟและมีใจกับองค์กร
โควิด-19 นำมาสู่ค้าปลีกรูปแบบใหม่ ที่การสร้างมาตรฐานด้านความสะอาดและความปลอดภัย จะกลายมาเป็นปัจจัยที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญ ควบคู่ไปกับการรุกตลาดออนไลน์ เมื่อการกักตัวสร้างพฤติกรรมใหม่ที่เคยชินจนเป็นเรื่องปกติที่เรียก New Normal
Qualtrics และ SAP ทำการสำรวจพนักงาน 2,700 คนใน 10 อุตสาหกรรมทั่วโลก พบว่านับตั้งแต่มีการระบาดและการล็อกดาวน์เมืองในช่วงเดือนมี.ค-เม.ย 2563 ที่ผ่านมาผู้คนถึง 75 % รู้สึกโดดเดี่ยวทางสังคมมากขึ้น 67% เครียดมากขึ้น อีก 57 % รู้สึกวิตกกังวล และมีคนถึง 53 % ที่รู้สึกอ่อนล้าทางอารมณ์
ความท้าทายอย่างยิ่งยวดของผู้ประกอบการ เมื่อเกิดสถานการณ์วิกฤต ไม่ใช่เพียงแค่การคิดกลยุทธ์ เพื่อรับมือกับปัญหา และประคับประคองกิจการให้อยู่รอดได้เท่านั้น แต่ยังรวมถึง “การจัดการการสื่อสารในภาวะวิกฤต” (Crisis Communication Management) ได้ด้วย
ร้านอาหารคือธุรกิจที่กำลังปรับตัวอย่างหนักเพื่อต่อสู้กับสถานการณ์ไวรัสในปัจจุบัน แถมตอนนี้ยังห้ามลูกค้านั่งรับประทานที่ร้านอีกด้วย นอกจากการปรับไปเป็นเดลิเวอรีแล้ว อีกหนึ่งไอเดียเจ๋งๆ คือการออกชุดทำอาหารกึ่งสำเร็จรูปหรือ DIY Kit ฉีกซองแล้วทำตามขั้นตอนก็ทานได้ทันที และนี่คือไอเด..
การทำธุรกิจยุคใหม่ไม่ใช่แค่ทำออนไลน์หรือออฟไลน์เพียงอย่างเดียว แต่คุณต้องประสานสอดคล้องกันทั้งการทำ E-Commerce มีเว็บไซต์ เข้าถึงลูกค้าบนในโซเชียลมีเดียไปพร้อมๆ กับการมีหน้าร้านด้วย
เทรนด์อะไรที่จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคในปี 2020 เอดีเอ ประเทศไทย (ADA) เปิดเผยถึง 7 เทรนด์การตลาดมาแรงในปีหนูทอง ที่ผู้ประกอบการและนักการตลาดต้องรู้ เพื่อนำมากำหนดกลยุทธ์ธุรกิจได้อย่างทันท่วงที
บล.บัวหลวง ชี้ช่องผู้ประกอบการหาทางเพิ่มผลตอบแทน “ยุคจีดีพีไทยเติบโตต่ำ” ผ่านการลงทุน DR อ้างอิงดัชนีหุ้นเวียดนามชั้นนำ 30 ตัว
DATA ยังไม่เกิด E-commerce เติบโตอย่างบ้าคลั่ง ราคาสื่อดิจิทัลจะสูงสุดเป็นประวัติการณ์ การใช้ Influencer จะไม่ง่ายและได้ผลเหมือนเดิมอีกต่อไป นี่คือตัวอย่างความท้าทายของ Digital Marketing ไทยในปี 2020 ที่สะเทือนถึงโลกของ SME อย่างเลี่ยงไม่ได้
แค่เริ่มต้นใหม่ ไม่ใช่พ่ายแพ้ เป็นหนังสือที่พูดถึงเหล่าคนดังระดับโลกที่เคยไม่ชนะ แต่พยายามต่อสู้จนสามารถกลับมาชนะได้ ด้วยวิธีคิดที่ถ้าไม่ชนะเกมเดิม ก็เล่นเกมใหม่ หรือแม้แต่สร้างเกมใหม่ของตัวเองขึ้นมาเพื่อให้คนอื่นต้องอยู่ภายใต้กติกาที่เราสร้างขึ้น
การจะนำพาแบรนด์ไทยออกสู่ตลาดโลกในฐานะของแฟรนไชส์จึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป แต่สิ่งสำคัญคือคุณต้องรู้ความเป็นไปของโลก ต้องรู้ว่าผู้บริโภคตอนนี้สนใจเรื่องอะไร แล้วหัวใจสำคัญในการทำระบบแฟรนไชส์ให้สำเร็จต้องมีอะไรบ้าง!
วันนี้โลกใบเล็กของคิวบิค เจมส์ มีผู้บริหารรุ่นใหม่เข้ามาร่วมขับเคลื่อน เธอคือ “พัชรลักษณ์ ธนสินตระกูล” ทายาทรุ่น 2 ที่กำลังจะเปลี่ยนภาพ คิวบิค เจมส์ ให้เป็นแบรนด์ที่ยืนหยัดได้อย่างแข็งแกร่งในโลกยุคใหม่