เป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ใครๆ ก็ชอบคนน่ารัก อ่อนโยน แต่บางครั้งในการเป็นผู้นำธุรกิจการเป็นคนดังกล่าวอาจทำให้คุณถูกมองว่าอ่อนแอ หรือใจดีเกินไปได้ ทำให้ต้องสวมบทโหดเป็นผู้นำเผด็จการกันบ้างในบางครั้ง
หลายคนอาจไม่รู้ว่าหนึ่งในกลยุทธ์กลยุทธ์ที่ทำให้บริษัท Apple เติบโตได้คือ การฆ่าผลิตภัณฑ์ของตัวเอง รวมทั้งการคิดต่าง ‘Think Different’ แคมเปญการตลาด ที่กลายมาเป็น Core Value สำคัญของ Apple กลายเป็นแบรนด์ที่ยิ่งใหญ่ และเป็นต้นแบบผู้นำในการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ
ว่ากันว่าการทำธุรกิจต้องใช้ทั้งศาสตร์และศิลป์ จึงจะประสบความสำเร็จได้ ไม่ต่างจากการเลี้ยงลูกก็เช่นกัน วันนี้เลยจะชวนมาดูวิธีการเลี้ยงลูกและคำสอนลูกดีๆ จากนักธุรกิจระดับโลกกันว่าเขาสอนลูกกันยังไง
ซอฟต์พาวเวอร์ กำลังเป็นเครื่องมือที่ทรงอิทธิพลในด้านการสร้างมูลค่าและยกระดับเศรษฐกิจให้กับหลายประเทศ ซึ่งมีตัวอย่างให้เห็นทั้งการใช้ศิลปวัฒนธรรม อาหาร ดนตรี แต่ที่ดูจะเห็นผลลัพธ์ที่ชัดเจนที่สุดคงหนีไม่พ้น กลุ่มคอนเทนต์และความบันเทิงที่เป็นรายการ ซีรีส์ หรือภาพยนตร์ ที่หลายประเทศประสบความสำเร็จอย่างมากในการสร้างภาพจำและสื่อสารกับประชากรทั้งในและต่างประเทศ
ความผิดหวัง และล้มเหลวเป็นเรื่องปกติของการทำธุรกิจ ไม่ว่าใครก็ต้องเคยผ่านจุดนี้มาด้วยกันทั้งนั้น แม้แต่แบรนด์ดังระดับโลกที่ทุกวันนี้ธุรกิจเติบโตเป็นพันๆ เป็นหมื่นๆ ล้าน ก็เคยเจอวิกฤติเกือบล้มละลายมาแล้ว
หลายคนอาจมองปัจจัยความสำเร็จไปที่การสร้างผลิตภัณฑ์ที่ดี การทำการตลาดที่ดี แต่รู้ไหมว่าจริงๆ แล้วอีกปัจจัยที่มีความสำคัญไม่น้อยไปกว่ากันเลย นั่นคือ การบริหารจัดการบัญชีและการนิสัยการเงินที่ชาญฉลาด
กลยุทธ์ที่ดีเป็นหลักประกันความสำเร็จของธุรกิจ ธุรกิจที่ไม่มีกลยุทธ์อาจรอดหรือไม่รอดก็ได้ แต่ธุรกิจที่มีกลยุทธ์ห่วยแตกปลายทางสุดท้ายมีแต่ตายกับตาย นี่คือ อาการ 4 อย่างของกลยุทธ์ห่วยแตกที่ต้องตรวจเช็กให้เจอ แล้วกำจัดมันซะ
ลูกค้าไม่สามารถบอกออกมาได้ตรงๆ ว่าพวกเขาต้องการอะไร หรือแบรนด์ต้องทำแบบไหน แต่แบรนด์ต่างหากที่เป็นฝ่ายต้องปรับวิธีคิด เปลี่ยนวิธีการเพื่อระบุปัญหาของพวกเขาให้ได้ และหาวิธีแก้ปัญหานั้นในแบบที่ลูกค้าไม่คาดคิด นั่นต่างหากถึงจะเป็น “นวัตกรรม”
อะไรมาใหม่ อะไรกำลังจะล้าสมัย ความต้องการของผู้บริโภคเป็นอย่างไร เป็นสิ่งที่คนทำธุรกิจต้องรู้และปรับตัวให้ทัน เพราะจุดเริ่มต้นของการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ใช่เทคโนโลยี แต่เกิดจากพฤติกรรมของลูกค้าที่เปลี่ยนไป หากหยุดเรียนรู้เมื่อไร อาจสะดุดล้มจนอาจถึงขั้นอยู่ไม่ไหว
ความจงรักภักดีในแบรนด์มีน้อยลง สวนทางกับตัวเลือกของสินค้าและบริการที่มากมายจนล้นสนาม การอยู่รอดของแบรนด์ยุคนี้จึงไม่ใช่เพียงแค่การสร้างฐานลูกค้า แต่ต้องเป็นการสร้างฐาน แฟนดอม (Fandom) หรือแฟนคลับตัวจริงที่เหมือนองครักษ์พิทักษ์แบรนด์
โพสต์ไปลูกค้าก็ไม่เห็น ปัญหาปวดหัวที่เจ้าของธุรกิจออนไลน์กำลังปวดใจกับการทำการตลาดบนเฟซบุ๊ก นี่จึงเป็นเทคนิคแบบเร่งรัดที่จะมาช่วยเพิ่มยอดขายให้กับผู้ประกอบการ
เคยไหมเวลาประชุมแล้วอยากให้ทีมช่วยกันหาไอเดียใหม่ๆ นั่งแช่กันหลายชั่วโมง แต่สิ่งที่ได้คือความคิดวกวน ความสับสนและว่างเปล่า หากเป็นเช่นนี้ หัวหน้าในฐานะประธานของที่ประชุมคงกลุ้มใจไม่น้อย