SME ไทยจะอยู่รอดได้อย่างไรท่ามกลางสงครามการค้า

การประกาศขึ้นภาษีนำเข้าสินค้าจากจีนเป็น 125% โดยประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ได้จุดชนวนสงครามการค้ารอบใหม่ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั่วโลก ดังนั้น SME ไทยจึงกำลังตกอยู่ในสถานการณ์เสี่ยง ...แล้วเราจะอยู่รอดได้อย่างไร

กรณีศึกษา Indomie SME อินโดฯ ส่งบะหมี่ตีตลาดแอฟริกาได้อย่างไร ขณะที่แบรนด์ใหญ่ยังทำไม่สำเร็จ

ในปี 2559 ในขณะที่ทวีปแอฟริกา ซึ่งเคยเป็นความหวังให้หลายบริษัทเข้าไปลงทุน กลับย่ำแย่จนหลายธุรกิจเริ่มถอดใจ แต่ทำไม "อินโดหมี่" บะหมี่สัญชาติอินโดนีเซีย กลับโตสวนกระแสมียอดขายเพิ่มขึ้น จนถึงขั้นต้องไปตั้งโรงงานผลิต

คุณเป็นพ่อค้าหรือนักธุรกิจ? มุมมองที่ส่งผลให้กิจการโตหรือตาย

พ่อค้า (และแม่ค้า) บางคนเท่านั้นที่เป็นนักธุรกิจ แต่นักธุรกิจทุกคนเป็นพ่อค้า ความแตกต่างระหว่างพ่อค้ากับนักธุรกิจอยู่ที่ตรงไหนไปดูกัน

หายนะทางธุรกิจ บริษัทระดับโลกยังเจ๊ง เมื่อมองตัวเองไม่ออก อาการของ Marketing Myopia

"Marketing Myopia" หรือ การตลาดสายตาสั้น คือ อาการมองตัวเองไม่ออก ซึ่งหลายแบรนด์ธุรกิจเคยตกม้าตายเพราะคำนี้มาแล้ว ยกตัวอย่างเช่น โกดักที่คิดค้นกล้องดิจิทัลไว้ แต่กลับเก็บไว้เฉยๆ เพราะคิดว่าตัวเองอยู่ในธุรกิจผลิตฟิล์ม

เงินอาจไม่ใช่จุดเริ่มของการกู้วิกฤต DaVita พลิกธุรกิจมีรายได้หลายพันล้านดอลลาร์ จากการสร้างขวัญให้พนักงาน

DaVita ธุรกิจให้บริการฟอกไตแห่งสหรัฐอเมริกาที่ครั้งหนึ่งตกอยู่ในสภาวะใกล้ล้มละลาย มีรายได้เข้ามามาก แต่กลับขาดทุนต่อเนื่อง แถมมีสถิติพนักงานลาออกปีละกว่า 50 % แต่สุดท้ายกลับพลิกฟื้นได้ เพราะหันมาให้ความสำคัญกับการดูแลบุคลากรในองค์กรให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

7 กลยุทธ์ร้านกาแฟล้มยักษ์ ร้านเล็กก็ทำกำไรเป็นกอบเป็นกำได้

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ร้านกาแฟเป็นหนึ่งในธุรกิจที่เกิดขึ้นเยอะมาก ทั้งร้านขนาดเล็กที่เปิดขึ้นเอง ร้านแฟรนไชส์ หรือไม่ก็ของบริษัทยักษ์ใหญ่ทุนหนา ประเด็นคือ หากเทียบร้านกาแฟ 3 กลุ่มนี้แล้วที่ยืนของร้านกาแฟขนาดเล็กกำลังเหลือน้อยลงไปทุกที

อยากอยู่รอดในโลกยุคใหม่ ต้องเป็นแบรนด์ที่ “ฆ่าไม่ได้ ตายไม่เป็น”

นี่คือหนังสือที่ถอดบทเรียนการอยู่รอดของธุรกิจในยุคที่ทุกอย่างรอบตัวโดน Disrupt ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจรถไฟรายใหญ่ในอเมริกา สายการบินระดับตำนาน บริษัทผลิตชิปประมวลผลภาพกราฟิก ซอสมะเขือเทศ กางเกงยีนส์ และแม้แต่การ Disrupt ตัวเองของชนเผ่าเร่ร่อน

เป็น CEO ยังไม่พอ ต้องเป็น CKO ด้วย

CEO (Chief Executive Officer) ได้กลายเป็นคำพูดติดปากคนไทยมานานกว่าสิบปีแล้ว คำนี้ได้รับการกล่าวถึงอย่างกว้างขวางทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน เพราะเชื่อกันว่าการบริหารแบบมี CEO จะทำให้องค์กรมีความรวดเร็ว คล่องตัว และยืดหยุ่นพอที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดได้อย่างมีประสิทธิภาพกว..

Knowledge Worker คือใคร?

Knowledge Worker เป็นคำที่ปีเตอร์ เอฟ ดรักเกอร์ ปรมาจารย์ทางด้านการบริหารจัดการเป็นผู้บัญญัติขึ้นในปี พ.ศ.2522 มีความหมายว่า “คนที่ทำงานโดยใช้สมองมากกว่าใช้แรง” แต่หลังจากนั้นมาปีเตอร์เองก็ไม่ได้ใช้คำนี้บ่อยนัก เพราะเมื่อ 30 กว่าปีก่อนเทคโนโลยีสารสนเทศและการติดต่อสื่อสารยังอยู่..

บริษัทของคุณเป็นแบบไหน?

บริษัทแต่ละแห่งมีบรรยากาศในการทำงานแตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะเป็นบริษัทที่ทำธุรกิจประเภทเดียวกัน ความแตกต่างนี้เกิดจากสาเหตุหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นความสัมพันธ์ระว่างบุคลากรในระดับต่างๆ วัฒนธรรมของบริษัท กฎระเบียบและนโยบายที่วางไว้ ตลอดจนถึงวิธีการบริหารจัดการองค์กร