วันนี้ถ้าบอกว่ามีคนไลฟ์ขายเสื้อผ้าได้วันละเป็นพันตัวคงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าย้อนไปเมื่อ 4 ปีก่อน ในยุคที่เฟซบุ๊กเพิ่งเริ่มมีฟังก์ชันไลฟ์ (Live) ร้านขายผ้าไทยในเมืองน่านที่ชื่อ “น่านบุรี” เคยไลฟ์ขายผ้าแฮนด์เมดได้ถึงวันละกว่า 600 ตัว
ถ้าแบรนด์ของเรามีผู้ติดตาม (Followers) ในโซเชียลมีเดียรวมกันนับแสนคน ต้องบอกว่านั่นคือเรื่องที่น่าดีใจจริงๆ แต่ถ้าเราเปลี่ยนผู้ติดตามเป็นลูกค้าไม่ได้ หรือขยายยอดขายจากผู้ติดตามที่มีอยู่ไม่ได้ ก็ต้องบอกว่าไม่ใช่เรื่องที่ดีเท่าไหร่นัก
เมื่อ Eco Shop ของ นุ่น –ศิรพันธ์ และ ท็อป – พิพัฒน์ ได้พี่เลี้ยงเป็นถึงกรูรูธุรกิจมืออาชีพอย่าง Divana จนเกิดเป็นโปรเจกต์ร่วมกันขึ้นมาภายใต้ชื่อแบรนด์ “Divana Urban Forest” ผลิตภัณฑ์ของใช้ภายในบ้านที่ใส่ใจทั้งผู้บริโภค ผู้ผลิต และสิ่งแวดล้อม
ทุกวันนี้ธุรกิจ Food Delivery ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญต่อร้านค้าต่าง ๆ จำนวนมาก แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าด้วยค่า GP ที่สูงลิ่วกว่า 30 – 35 เปอร์เซ็นต์ ทำให้ไม่สามารถทำกำไรได้ วันนี้แบรนด์เดลิเวอรีท้องถิ่นสัญชาติไทยจึงมีเกิดขึ้นมากมาย เพื่อเป็นทางเลือกให้ผู้ประกอบการ
ว่ากันว่า ทำธุรกิจแล้วไม่มองดูคู่แข่งก็เท่ากับหยุดพัฒนาตัวเอง เชื่อหรือไม่ว่า คู่แข่งทางธุรกิจนั้นไม่ต่างอะไรกับกระจกที่เอาไว้สะท้อนมองดูตัวเอง “เมื่อวานนี้เราเป็นอย่างไร” “วันนี้เราดูดีขึ้นหรือไม่” และ “ในอนาคตข้างหน้ารูปลักษณ์ธุรกิจของเราจะเปลี่ยนไปอย่างไร”
8 ปีก่อน แบรนด์สินค้าสุขภาพเล็กๆ ชื่อ “ฮัก” (Hug) ถือกำเนิดขึ้น วันนี้เติบโตเป็นแบรนด์ที่รักของทั้งคนไทยและชาวต่างชาติ วางจำหน่ายในร้านสุขภาพชื่อดัง ห้างสรรพสินค้าชั้นนำ โรงแรม รีสอร์ต ตลอดจนช่องทางออนไลน์ และยังไปทำตลาดอยู่ในหลายประเทศ
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสฉันใด ในสภาพเศรษฐกิจฝืดเคืองและสถานการณ์โรคระบาดเช่นนี้ ก็ย่อมมีสินค้าที่ขายดีพุ่งสวนกระแสขึ้นมาฉันนั้น จนกลายเป็นสินค้าขายดีแห่งปี 2020 ซึ่งหลายชนิดอาจมีมานานเป็นนับสิบปีแต่กลับเพิ่งมาแจ้งเกิดก็ปีนี้
หลังจากต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงที่หนักหน่วงมาตลอดทั้งปี วันนี้คงไม่มีใครบอกว่า ยังอยากได้ยอดขายสูงๆ มาดูสุดยอดกลยุทธ์ และอาวุธเด็ด 9 ข้อ ที่ SME ต้องรู้ เพื่อครองใจลูกค้าในระยะยาวกัน
หลายคนมองว่าการที่หลายอุตสาหกรรมแทบจะทั่วโลกทยอยปิดตัวลงจนก่อให้เกิดแรงกระเพื่อมที่นำไปสู่การล้มเป็นโดมิโนของธุรกิจต่างๆ มาจากการระบาดของโควิด-19 แต่ความจริงแล้ว การปิดตัวของธุรกิจค้าปลีกเริ่มต้นเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว
ในยุคที่โลกธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงในทุกๆ ด้าน ทั้งจากโควิด-19 หรือสภาพเศรษฐกิจ ที่ทำให้คนตัดสินใจลงทุนหรือเลือกซื้อสินค้าเปลี่ยนไป ผู้ประกอบการ SME และ Startup จำเป็นต้องเตรียมตัวและรับรู้เทรนด์ใหม่ๆ ของตลาดก่อนใคร
การลงทุนผ่านระบบแฟรนไชส์ คือทางลัดในการเริ่มต้นธุรกิจ แต่ไม่ใช่ทุกแฟรนไชส์จะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในสถานการณ์เช่นนี้ ที่มีทั้งวิกฤตไวรัส เศรษฐกิจซบเซา กำลังซื้อหด ตลอดจนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนจากวิถี New Normal
ธนาคารไทยพาณิชย์ เดินหน้าสนับสนุนผู้ประกอบการเอสเอ็มอีเร่งทรานส์ฟอร์มธุรกิจในการลดต้นทุนและเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขันในโลกธุรกิจยุค New Normal