จากการคิดต่อยอดจากธุรกิจของครอบครัวที่ดำเนินกิจการค้าข้าวและอุตสาหกรรมอาหารส่งออก ภายใต้ชื่อของ V-Group หรือ วุฒิชัยกรุ๊ป มานานกว่า 30 ปี บริษัท โอชาฟูดแพ็ค จำกัด คือ 1 จาก 9 บริษัทในเครือ ผู้ส่งออกใบตองและผักผลไม้แช่แข็งรายใหญ่ของประเทศ ที่ครั้งหนึ่งธุรกิจเกือบพัง เพราะขาดทุน
ต้องยอมรับว่าผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยในปัจจุบันสามารถพัฒนา “บรรจุภัณฑ์” หรือ “แพ็กเกจจิ้ง” ให้น่าสนใจได้ไม่แพ้แบรนด์ใหญ่ๆ ในตลาด
คนเราจะประสบความสำเร็จได้ ต้องใช้เวลานานเท่าไหร่? บางคนอาจเป็นวัน เดือน ปี หรือบางคนก็อาจครึ่งค่อนชีวิตเลยก็ได้
คงไม่ใช่เรื่องง่ายนักที่แบรนด์น้องใหม่จะฝ่าด่านแบรนด์รุ่นพี่กลายเป็นม้ามืดมาแรงทำยอดขายแซงทุกแบรนด์จนขึ้นแท่น Best Seller ในเซเว่นเพียงแค่ภายในหนึ่งเดือนเท่านั้น
ความผิดหวัง และล้มเหลวเป็นเรื่องปกติของการทำธุรกิจ ไม่ว่าใครก็ต้องเคยผ่านจุดนี้มาด้วยกันทั้งนั้น แม้แต่แบรนด์ดังระดับโลกที่ทุกวันนี้ธุรกิจเติบโตเป็นพันๆ เป็นหมื่นๆ ล้าน ก็เคยเจอวิกฤติเกือบล้มละลายมาแล้ว
ที่มาของบทความนี้มาจากการเตือนความจำในเฟซบุ๊กของผู้เขียน เมื่อตอนเริ่ม Set up Brand กาแฟ Meffceo
ในทุกจังหวะก้าวและจังหวะลุย ที่เป็นขาขึ้นของธุรกิจ เราสามารถใช้สัญชาติญาณ ในการตัดสินใจ และลุยไปข้างหน้าได้ แต่เมื่อมีปัญหา สิ่งสำคัญที่สุดก็คือ การหยุดให้เป็น!
เพราะการขายของออนไลน์กลายเป็นช่องทางจำเป็นสำหรับผู้ประกอบการ หลายๆ ร้านจึงเปิดขายทุกช่องทางของแพลต์ฟอร์มมาร์เก็ตเพลส เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับผู้บริโภค นับเป็นกลยุทธ์ที่ดีทางหนึ่ง แต่คุณเองก็ควรศึกษาว่าแต่ละมาร์เก็ตเพลสมีค่าธรรมเนียมอะไรบ้าง อย่างน้อยจะได้เป็นการช่วยในการคำนวณต้นทุนหรือกำไร
ย้อนไปสักสิบปีการจะยึดอาชีพทำเบเกอรี่โฮมเมดอย่าง Biscotti ขนมที่หลายๆ คนในยุคนั้นอาจไม่ค่อยรู้จัก ที่สำคัญเป็นการขายแบบไม่มีหน้าร้านคงเป็นเรื่องยากที่จะมีใครคิดบุกเบิกตลาดนี้
ในโลกปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่ต่างขวนขวายความมั่งคั่งจากการเป็นผู้ประกอบการ บนถนนสู่การสร้างสตาร์ทอัพจึงคลาคล่ำหนาแน่นไปด้วยคนรุ่นใหม่ซึ่งปัจจุบันด้วยความที่ “เพศ” ไม่อาจแบ่งแย่งความสามารถ เราจึงเห็นผู้หญิงจำนวนมากก่อตั้งสตาร์ทอัพและนั่งเก้าอี้ซีอีโอ วันนี้เลยจะชวนดูภาพยนตร์ที่ฉายทางเน็ตฟลิกซ์เรื่อง “The Intern” (โก๋เก๋ากับบอสเก๋ไก๋) ที่แม้จะเป็นหนังตั้งแต่ปี 2015 แต่เนื้อหาไม่ตกยุคเลย
คงไม่ใช่เรื่องแปลกอีกต่อไปแล้วในโลกยุคหลังโควิด หากจะบอกว่าวันนี้คุณยังเป็นพนักงานประจำอยู่ แต่กลับไม่ต้องนั่งทำงานอยู่ออฟฟิศ หรือไม่จำเป็นต้องเข้าทำงาน 5 - 6 วันต่อสัปดาห์อีกต่อไป
DeFi หรือระบบการเงินไร้ศูนย์กลางกลายเป็นกระแสที่มาแรงในช่วงสองสามปีที่ผ่านมาด้วยตัวเลขผลตอบแทนการลงทุนที่อยู่ในระดับสูงกว่าผลิตภัณฑ์การเงินปกติ รวมถึงความอิสระในการสร้างโปรดักต์ทางการเงินที่ไม่จำเป็นต้องเป็นสถาบันการเงินก็สามารถให้บริการได้