แม้ว่ามีหลายประเทศดำเนินการฉีดวัคซีนในปริมาณที่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ได้ในระดับหนึ่งแล้ว ได้แก่ มัลดีฟส์ และเซเชลส์ กลับพบว่ายังมีการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในระลอกใหม่อย่างรุนแรงจนทำให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจหยุดชะงักลงอีกครั้ง
จากกระแสความนิยมในการเทรด Cryptocurrency ผู้ประกอบการบางรายเล็งเห็นโอกาสที่เกิดขึ้นในตลาดใหม่ คือ “ตลาดท่องเที่ยว” เพราะนักท่องเที่ยวจำนวนมากเริ่มถือเงินสกุลดิจิทัลกันแล้ว
ใครจะคิดว่ากิจกรรมลูกทุ่งๆ ของเด็กน้อยบ้านนาอย่าง ดำนา ขี่ควาย เล่นสไลเดอร์โคลนจนตัวเลอะมอม จะกลายเป็นเสน่ห์ที่ดึงดูดและโดนใจเหล่าเด็กเมืองไปได้ จนทำให้ชื่อของ “จินเจอร์ ฟาร์ม” (Ginger Farm) ถูกพูดถึงอย่างมากในโลกโซเชียล
ถ้าเราลองมองดูการวางแผนการฟื้นฟูการท่องเที่ยวของ ททท. สิ่งที่เห็นคือ “การวางระยะเวลาการฟื้นฟูที่ชัดเจน” จากเริ่มต้นการคลาย Lockdown ระยะที่ 2 เลือกพื้นที่ “ทดลอง” เปิดประเทศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสุดท้ายคือการเปิดประเทศเต็มตัว
โควิด-19 ทำให้พนักงานต้องทำงานที่บ้านกันมากขึ้น แต่ถ้าอยู่บ้านตลอดทั้งวันคงน่าเบื่อ อุทยานแห่งชาติทั่วญี่ปุ่นจึงผุดไอเดีย “Workation” ผสมผสานระหว่างธุรกิจและการพักผ่อน เพื่อช่วยให้ผู้คนสามารถทำงานทางไกลระหว่างท่องเที่ยวได้ด้วย
โดยทั่วไปแล้วหลักการออกแบบโรงแรม ห้องพักควรให้ความสะดวกสบายเหมือนอยู่ที่บ้าน แต่ ชุบ-อนุสิทธิ์ สหะโชค ผู้บริหารโรงแรม “เป๊กกี้ โคฟ รีสอร์ท” (Peggy’s Cove Resort) กลับไม่คิดเช่นนั้น เขามองว่าการสร้างประสบการณ์ให้กับลูกค้า คือ สิ่งที่สำคัญมากกว่า
“บ้านไร่ปอนด์หวาน” หนึ่งในจุดหมายของเหล่าคนรักธรรมชาติที่ท่องเที่ยวในเส้นทางจังหวัดนครนานายก ที่ปรับพื้นที่จากสวนผลไม้นานาชนิด ให้กลายเป็นที่พักและจุดกางเต็นท์สุดชิกที่เงียบสงบ เอาใจสาย Green Lovers ทั้งหลาย
วิกฤตกับการทำธุรกิจดูจะเป็นของคู่กันไปแล้ว หากริจะเป็นผู้ประกอบการ ก็ต้องพร้อมรับมือกับวิกฤตไปด้วย เช่นเดียวกับ MIRINN Show ธุรกิจการแสดงคาบาเร่ต์และมวยไทยโชว์ ที่เจอวิกฤตมาตั้งแต่วันต้นเริ่มธุรกิจ ทั้งมรสุม ไฟไหม้ ลามไล่มาจนถึงโควิด-19
ปีนี้โควิดพ่นพิษใส่ธุรกิจท่องเที่ยวอย่างหนัก แต่ปีหน้าฟ้าใหม่ตลาดท่องเที่ยวจะกลับมาคึกคักอีกครั้ง แต่นักท่องเที่ยวทั่วโลกจะมีพฤติกรรมการท่องเที่ยวแบบไหน เปลี่ยนไปจากเดิมอย่างไร ผู้ประกอบการที่อยู่ในกลุ่มอุตสาหกรรมท่องเที่ยวต้องจับตาอย่างใกล้ชิด
“เทรคกิ้งไทย” บริษัทท่องเที่ยวแบบเดินป่าพยายามหาทางรอดจากวิกฤติโควิด-19 ในเมื่อออกเดินทางไม่ได้ พวกเขาเปิดเส้นทางใหม่ ขยายตลาดขายอุปกรณ์เดินป่าและแคมปิ้งบนโลกออนไลน์ จนธุรกิจไปต่อได้แม้ยังไม่มีนักท่องเที่ยวสักคน
สถานการณ์โควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจเผชิญกับความยากลำบาก โดยเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรม และอาจจะต้องใช้เวลาอีกพักใหญ่กว่าจะกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติได้ ดังนั้นหลายองค์กรจึงต้องรัดเข็มขัด ลดต้นทุน เพื่อประคองให้ผ่านช่วงเวลานี้ไปได้
แม้ไม่มีวิกฤตโควิด-19 แต่ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรมในบ้านเรา นับว่ามีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก โดยพฤติกรรมของผู้คนแปรเปลี่ยน คนไม่จงรักภักดีในแบรนด์ เบื่อความซ้ำซาก ส่งผลให้ธุรกิจโรงแรมอายุสั้นลงกว่าเดิมมาก