ทุกวันนี้เราเริ่มเห็นหลายๆ แบรนด์ที่มีความแตกต่างกัน หันมาจับมือทำงานร่วมกันหรือทำการ Co-Brand มากขึ้น นับเป็นหนึ่งในกลยุทธ์ในการเสริมแกร่งให้กับธุรกิจ
hotel spa คือหนึ่งในรูปแบบสปาที่น่าจับตามองและมีแนวโน้มเติบโตสูงอย่างต่อเนื่อง ตามการท่องเที่ยวของไทยที่ยังขยายตัวได้ดี เมื่อโอกาสมาเช่นนี้ ผู้ประกอบการโรงแรมและผู้ให้บริการสปา อาจต้องมองโอกาสในการต่อยอดธุรกิจร่วมกัน เพื่อสร้างความแตกต่างให้ตลาด
หยิบกรณีศึกษาตลาดแอลกอฮอล์ในต่างแดน กับกลยุทธ์การตลาดแบบใหม่ๆ ที่อาศัยเทคโนโลยีมาช่วยสร้างประสบการณ์ใหม่ให้ลูกค้า ถึงบ้านเราธุรกิจแอลกอฮอล์จะไม่สามารถทำโฆษณาได้ แต่ถ้ายืมไอเดียการตลาดแบบนี้มาประยุกต์ใช้กับสินค้าอื่นๆ ก็น่าสนใจไม่น้อย
เมื่อเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตคนมากขึ้น ทำให้วิถีของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนจึงเปลี่ยนไป และดูเหมือน การตลาดแบบเดิมๆ อาจจะใช้ไม่ได้อีกต่อไป มาดูกันว่าปีนี้จะมีเทรนด์ไหนบ้างที่ให้พฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่เปลี่ยนไป
จากงานวิจัย “Momentum Marketing เจาะใจคนชอบแชร์ จุดกระแสการตลาด” เผยให้รู้จัก “ผู้บริโภคกลุ่มแรก” หรือ “มีก่อนใช้ก่อน” ผู้ที่ได้ชื่อว่่าเป็นนักจุดกระแสการแชร์ต่อจนโด่งดันสนั่นโลกออนไลน์ ถ้าอยากจะกระตุ้นให้พวกเขาเหล่านี้แชร์มากขึ้น ต้องมีกลยุทธ์โดยเฉพาะ
ในเมืองพิษณุโลกใครๆ ก็รู้จักและเรียกเขาว่า “นายห้าง” สำหรับผู้ชายคนนี้ คัมภีร์ ฐานโชติ เขาคือนักธุรกิจที่ได้รับการยอมรับว่าประสบความสำเร็จคนหนึ่งในเมืองสองแควแห่งนี้ ตลอดเส้นทางการทำงานหลายสิบปีที่ผ่านมา จนวันนี้เขากลายเป็นเจ้าของอาณาจักรเฟอร์นิเจอร์ขนาดใหญ่
เกิดอะไรขึ้น? เมื่อเจ้าของแบรนด์ ไม่มีสิทธิ์ใช้แบรนด์หรือเครื่องหมายการค้า ทำตลาดในต่างประเทศได้ ภัยใกล้ตัวที่ผู้ประกอบการควรระวังไว้ให้ดี
ถ้าพูดถึงธุรกิจที่เป็น Specialty ที่มีความโดดเด่น หลายคนต้องนึกถึงที่นี่ Ari Football Concept Store ร้านขายอุปกรณ์กีฬาฟุตบอลโดยเฉพาะ จึงถือเป็นหนึ่งในธุรกิจที่เลือกแนวทางการทำธุรกิจแบบ Specialty หรือการขายความพิเศษที่แตกต่างและมากกว่านั่นเอง
แบรนด์จะดังได้ไม่ใช่เพราะโชคช่วย แต่ต้องเกิดจากองค์ประกอบหลายๆ อย่างที่ช่วยผลักดันเพื่อทำให้แบรนด์เดินหน้าไปได้สำเร็จ ถ้าผู้ประกอบการที่กำลังคิดจะปั้นแบรนด์อย่างจริงจัง คุณได้ทำครบทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ แล้วหรือยัง?
ในยุคนี้พ่อค้าแม่ค้าออนไลน์ขยับลงมาสู่ On ground ได้ง่ายๆ ด้วย Multi-brand Store
ธุรกิจต้องทำอย่างไร เมื่อราคาไม่ใช่แค่เรื่อง ต้นทุน กำไร แต่หมายถึงความคาดหวังของลูกค้า จุดตัดระหว่างราคากับภาพลักษณ์ ของแบรนด์ควร อยู่ตรงไหน?
คุณจะยอมให้แบรนด์ที่สร้างขึ้นมาต้องพังลงภายในวันเดียวด้วยฝีมือพนักงานของคุณเองหรือไม่ ลองนึกถึงข่าวที่แชร์กันกระหน่ำโซเชียลมีเดีย เกี่ยวกับพนักงานขายหรือพนักงานประจำสาขาของแบรนด์ต่างๆ ที่ผ่านมาดู