หลายคนคงคุ้นเคยกับกิม อาหารขึ้นชื่อของเกาหลีที่ดังมาหลายปีในทั่วโลก แล้วปัจจุบันนี้ผู้บริโภคเกาหลีชอบทานอาหารประเภทไหนหลังจากวิกฤตโควิด-19 แล้วทำไมตลาดเกาหลีถึงน่าสนใจ
นับตั้งแต่ปลายปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นเวลากว่าสองปีครึ่ง ที่ประเทศไทยได้เรียนรู้และอยู่กับการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเนื่องมาสองปีกว่า ทำให้พฤติกรรมของผู้บริโภค แนวโน้มธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป แน่นอนว่ารูปแบบการทำธุรกิจเองก็ต้องเปลี่ยนไปเช่นเดียวกัน
อากาศยิ่งแปรปรวนผู้คนก็ยิ่งตระหนักถึงต้นตอของปัญหา ทำให้หลายฝ่ายเริ่มหาวิธีที่จะหยุดภาวะโลกร้อน ซึ่งรวมไปถึงภาคธุรกิจ โดยเฉพาะผู้ส่งออกที่ควรทำความเข้าใจ เร่งปรับตัวเพิ่มประสิทธิภาพและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในกระบวนการผลิต เพื่อลดต้นทุนและรักษาตลาด โดยเฉพาะในสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ที่จะมีการบังคับใช้กฎหมายในการเก็บค่าธรรมเนียมคาร์บอนสำหรับการนำเข้าสินค้า
จีนเป็นประเทศหนึ่งที่ได้โอบรับกระแส cashless society หรือสังคมไร้เงินสดรวดเร็วจนน่าทึ่ง หาบเร่แผงลอยข้างทาง หรือกระทั่งขอทานในจีนยังมี QR code ให้สแกนจ่าย
สังคมผู้สูงวัยถือเป็นอีกหนึ่งเมกะเทรนด์โลก ในศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้จากแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัยทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ โดยองค์การอนามัยโลก คาดการณ์ว่าในปี 2573 จะมีประชากรสูงอายุมากถึงประมาณ 1.4 พันล้านคน และจะเพิ่มเป็น 2 พันล้านคนในปี 2593
"Nature Positive" หรือ "ธรรมชาติเชิงบวก" เทรนด์ใหม่รักษ์โลกที่มากกว่าส่งเสริมไม่ให้ทำลาย หรือลดใช้ทรัพยากร แต่คือ การดูแลโลกแบบเชิงบวกที่ทุกองค์กรธุรกิจพึ่งทำในยุคนี้
สำหรับประเทศไทยนั้นแม้รัสเซียอาจไม่ได้เป็นคู่ค้าหลักของเราแต่ในส่วนของการโรงแรมและการท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวรัสเซียถือเป็นอีกหนึ่งตลาดที่ได้รับการคาดหมายว่าจะเป็นกลุ่มที่เข้ามาพลิกฟื้นอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยวของไทย
โควิด-19 ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงชีวิตเรา สิ่งสำคัญที่ผู้ประกอบการธุรกิจต้องคิดต่อจากนี้ คือ เมื่อผ่านพ้นจากเหตุการณ์นี้ไปแล้ว พฤติกรรมใดของผู้บริโภคที่จะยังคงอยู่ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางธุรกิจได้ ลองมาฟัง ธนพล ทรัพย์สมบูรณ์
ทำธุรกิจยังไงให้กระแสไม่ตก ผู้บริโภคไม่ลืม 10 ปี เจคิว ปูม้านึ่ง ลูกค้ายังมั่นใจสั่งออเดอร์ละเป็นแสน
ในปี 2565 คือปีที่ เจคิว ปูม้านึ่ง ผู้บุกเบิกธุรกิจซีฟู้ดเดลิเวอรีของเมืองไทย อยู่มาครบ 10 ปี พอดิบพอดี (ก่อตั้งเมื่อปี 2555) ท่ามกลางกระแสธุรกิจอาหารที่เปลี่ยนไปชนิดวันต่อวัน เรียกว่าแค่หลับตาตื่นเมนูยอดนิยมเมื่อวานนี้ก็อาจตกเทรนด์ไปแล้ว
สิ่งแวดล้อมยังเป็นประเด็นที่หลายฝ่ายให้ความสนใจ โดยเฉพาะสหภาพยุโรปได้เดินหน้าในการในเรื่องการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate change) อย่างต่อเนื่อง ตามแผน European Green Deal นอกเหนือจากมาตรการจัดเก็บภาษีคาร์บอนสำหรับสินค้าข้ามแดน (Carbon Border Adjustment Mechanism: CBAM) สำหรับกลุ่มสินค้าที่มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจำนวนมากที่จะเริ่มดำเนินการในปี 2566
เมื่อความน่าสนใจของบริการทางด้านสุขภาพในอนาคตจะไม่ได้จำกัดอยู่แค่ภายในโรงพยาบาลอีกต่อไป
เพื่อทำให้การรีไซเคิลเป็นรูปธรรมและสร้างผลกระทบเชิงบวก CSR Plastic Credit จะมาเป็นเครื่องมือทั้งสำหรับผู้ประกอบการมุ่งสู่สถานะการลดขยะพลาสติกเป็นศูนย์ (Plastic Neutral)