วันนี้ธุรกิจอาหารยังคงแข่งขันกันรุนแรง และเต็มไปด้วยความท้าทายรอบด้าน แต่ในอนาคตอันไกล ความท้าทายที่จะทวีความสำคัญมากขึ้น คือ “เทรนด์ผู้บริโภค” ที่เปลี่ยนไป ซึ่งเป็นตัวกำหนดชะตาชีวิตธุรกิจอาหารแห่งอนาคต
การทำสินค้ารักษ์โลก ก็คือธุรกิจหนึ่ง ที่ผู้ประกอบการต้องเจอกับความท้าทายไม่ต่างจากธุรกิจทั่วๆ ไป ซึ่งเป้าหมายที่ทุกคนอยากไปให้ถึงก็คือ สินค้านั้นๆ สามารถขายได้ มีเม็ดเงินเข้ามาสร้างการเติบโตให้ธุรกิจ ไม่ใช่แค่เทรนด์ฉายฉวย
การจะนำพาแบรนด์ไทยออกสู่ตลาดโลกในฐานะของแฟรนไชส์จึงไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป แต่สิ่งสำคัญคือคุณต้องรู้ความเป็นไปของโลก ต้องรู้ว่าผู้บริโภคตอนนี้สนใจเรื่องอะไร แล้วหัวใจสำคัญในการทำระบบแฟรนไชส์ให้สำเร็จต้องมีอะไรบ้าง!
ปี 2562 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมอาหารของไทยลดลงเป็นครั้งแรกในรอบ 5 ปี! ที่ร้อยละ 2.0 ส่งออกสินค้าอาหารมีมูลค่าที่ 1.02 ล้านล้านบาท หดตัวลงที่ร้อยละ 3.8 จาก 3 ปัจจัยหลัก ทั้งการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก การแข็งค่าของเงินบาท และราคาอาหารโลกที่ปรับตัวลดลง
นี่คือหนังสือที่ถอดบทเรียนการอยู่รอดของธุรกิจในยุคที่ทุกอย่างรอบตัวโดน Disrupt ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจรถไฟรายใหญ่ในอเมริกา สายการบินระดับตำนาน บริษัทผลิตชิปประมวลผลภาพกราฟิก ซอสมะเขือเทศ กางเกงยีนส์ และแม้แต่การ Disrupt ตัวเองของชนเผ่าเร่ร่อน
ปี 2563 ศูนย์วิจัยกสิกรไทย คาดว่าตลาดอาหารและเครื่องดื่มในประเทศจะโตเพียงร้อยละ 2.4-4.4 (YoY) แต่อาหารพร้อมทาน ยังมีแนวโน้มเติบโตสูงกว่าตลาดรวม โดยขยายตัวร้อยละ 3.0-5.0 (YoY) มีมูลค่าตลาดอยู่ที่ 20,200-20,500 ล้านบาท
ด้วยกระแสของผู้บริโภคยุคปัจจุบัน ที่มีการหันมาใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติมากขึ้น ไม่เว้นแม้แต่ในวงการแฟชั่นที่มีการสรรหาเส้นใยวัตถุดิบจากธรรมชาติ เพื่อนำมาใช้ผลิตเป็นเสื้อผ้ามากขึ้นเช่นกัน
คลื่นความเปลี่ยนแปลง เข้ามากระทบกับหลายอุตสาหกรรม ไม่เว้นแม้แต่ตลาดสวยๆ งามๆ อย่างโลกแฟชั่น ที่วันนี้กำลังถูกท้าทายจากการเข้ามาของเทคโนโลยีและพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอบการในธุรกิจแฟชั่น จะรับมือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นนี้อย่างไร ต้องปรับตัวอย่างไรถึงจะอยู่รอดในโลกอ..
แบรนด์รุ่นเดอะอย่าง THEATRE ที่อยู่ในสนามมากว่า 30 ปี พวกเขายืนหยัดที่จะขายความเป็นงานคราฟท์ งานประณีต เน้นดีเทลและความเนี้ยบในการทำ เพื่อเป็นแฟชั่นที่อมตะไม่หล่นหายไปจากตลาดแม้ในวันโลกเปลี่ยน
โลกการแข่งขันสมัยนี้บีบบังคับให้ธุรกิจต้องสร้างความเชี่ยวชาญใหม่ถึงจะอยู่รอดได้ โดยเฉพาะเรื่องเทคโนโลยี อาทิ AI, Big Data, Robot เป็นต้น เพราะเรื่องเหล่านี้คือสิ่งใหม่ที่จะเชื่อมไปถึงลูกค้าได้ การตลาดต้องใช้เทคโนโลยีมากกว่าเดิม
Experience คือการสร้างประสบการณ์ของลูกค้า อาวุธทรงพลังที่จะใช้รับมือสงครามการตลาดยุคใหม่ ในวันที่ประตูไปสู่หัวใจผู้บริโภคดูซับซ้อนขึ้นทุกวัน ขณะที่การแข่งขันก็ยังคงรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
หลายคนอาจเห็นว่ากระดาษเหลือๆ ชิ้นเล็กชิ้นน้อย เอาไปทำอะไรไม่ได้นอกจากกลายเป็นขยะ แต่ไม่ใช่กับ MALAPINN พวกเขาใช้ความคิดสร้างสรรค์ เปลี่ยนกระดาษเหลือทิ้งจากการทำแพ็กเกจจิ้ง มาเป็นการ์ดอวยพรแฮนด์เมดสุดอาร์ต ที่โดนใจตลาดสายรักษ์โลก