หลี่ เจียฉี อินฟลูเอนเซอร์ระดับท้อปของจีนวัย 29 ปี เจ้าของฉายา “Lipstick Brother” หรือราชันแห่งลิปสติก ใช่แล้ว! ราชัน ไม่ใช่ราชินี อย่างที่หลายคนคุ้นเคย ล่าสุดเพิ่งไลฟ์สดนาน 12 ชั่วโมงบนแพลทฟอร์มเถาเป่า รับเทศกาล “วันคนโสด”
ไม่ได้ดังแค่จาก ลิซ่า BLACKPINK แต่ "Asava" ยังเป็นแบรนด์แฟชั่นไทยระดับโลกที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและต่างประเทศ พอๆ กับเรื่องราวชีวิตของ "หมู อาซาว่า" เจ้าของแบรนด์ที่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ชีวิตไม่ได้โรยด้วยกลีบกุหลาบ
กระแสชาตินิยมของจีนประทุขึ้นมาอีกระลอกช่วงเกิดวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ที่มณฑลเหอหนานช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา และ“เออร์เก้” (ERKE) ที่ล้มลุกคลุกคลานและประสบอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจมาตลอดกลับมอบเงินบริจาคถึง 50 ล้านหยวน
แม้จะเกิดในครอบครัวที่ยากจน ลูกชาวนาที่ชื่อว่า “จาง กงหยวน” ดิ้นรนก่อตั้งธุรกิจผลิตรองเท้าของตัวเอง จนกระทั่งในเวลานี้เขาได้กลายบุคคลที่รวยเป็นอันดับ 1 ของไต้หวันไปแล้ว
ผู้ประกอบการหลายคนอาจผลิตเก่ง ทำของดี มีแบรนด์ปัง แต่ต้องมาตกม้าตายเพราะปัญหาสต็อกสินค้า ป้าตือ ย้ำว่า การจัดการแบรนด์โดยเฉพาะเรื่องการเคลียร์สต็อกเป็นสิ่งสำคัญ ไม่ว่าจะทำในรูปแบบของ New Form หรือ Re-Construction ก็ตาม
วิกฤตโควิด-19 ทำให้การเดินทางระหว่างประเทศมีข้อจำกัด ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว รวมถึงกลุ่มสินค้าของฝากด้วย แต่จาก Google Trend กลับพบว่าสินค้าของฝากนี่ล่ะที่ถูกค้นหาและสั่งซื้อผ่านช่องทางออนไลน์โดยที่นักท่องเที่ยวไม่ต้องเดินทางมาเมืองไทยด้วยซ้ำ
ธนธร ชนัฐทรงพล CEO บริษัท ไบรท์คูณสอง จำกัด เจ้าของแบรนด์ Wenique (วีนีค) ประกาศก้องในวันเริ่มต้นธุรกิจว่าจะสร้างแบรนด์ที่คนอาจจะมองว่าเป็นผู้ร้าย แต่สุดท้ายเขาจะช่วยโลก
หากพูดถึงชื่อ “Bata” (บาจา) เชื่อว่านักเรียนไทยแทบทุกคนคงรู้จักกันเป็นอย่างดีกับแบรนด์รองเท้าผ้าใบคุณภาพชื่อดังที่วางจำหน่ายอยู่ในเมืองไทยมานานกว่า 90 ปี จนพาลให้คิดไปว่า Bata คือ หนึ่งใน Local Brand ของไทย แต่จริงๆ แล้วมาจากสาธารณรัฐเชกต่างหาก
Fast Fashion ที่ผลิตออกมาจำนวนมากเพื่อขายในราคาถูกเป็นต้นตอของการทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล ทั้งในแง่ของการสร้างมลพิษและเอาเปรียบแรงงาน ผู้บริโภคสายกรีนจึงหันมาเลือกใช้สินค้าอย่างมีจริยธรรม ทำลายวงจรของการซื้อ-ใช้-ทิ้งอย่างรวดเร็ว
การทำธุรกิจทุกวันนี้ไม่ว่าจะผลิตสินค้าใดออกมาก็ตาม อีกสิ่งที่ผู้ประกอบการหลายคนต่างให้ความสำคัญมากขึ้น คือ รูปแบบการผลิตแบบยั่งยืน หรือ Sustainable นั่นเอง
ในภาวะวิกฤตมีหลายธุรกิจที่ต้องล้มลง “เมธาวี อ่างทอง” คือหนึ่งในผู้ประกอบการที่เจอกับวิกฤตครั้งแล้วครั้งเล่า ทว่าเธอลุกขึ้นมาใหม่ และแต่ละครั้งก็ได้เรียนรู้ข้อบกพร่องแล้วอุดช่องโหว่ไม่ให้ตัวเองต้องก้าวพลาดซ้ำในจุดเดิม
ใครจะรู้ว่าการที่เราซื้อเสื้อผ้าบ่อยๆ เป็นต้นเหตุของการทำร้ายสิ่งแวดล้อมโดยไม่รู้ตัว เพราะในกระบวนการผลิตเสื้อผ้านั้นมีการปล่อยคาร์บอนไม่ใช่น้อยเลยทีเดียว