หลังการอุบัติของโควิด-19 ทำให้เกิดสิ่งใหม่ๆ มากมาย รวมทั้งพฤติกรรมของผู้บริโภคเองที่เปลี่ยนไปหลายอย่าง แน่นอนว่าย่อมส่งผลต่อการทำธุรกิจ ที่ต้องพร้อมปรับให้ทันผู้บริโภค
หนึ่งในสินค้าอะไรที่มาแรงในตลาดโลกขณะนี้คงหนีไม่พ้น “เนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง” หรือ Cultured Meat จากความต้องการบริโภคเนื้อสัตว์ ความท้าทายในการผลิตเนื้อสัตว์ และปัญหาการขาดแคลนเนื้อสัตว์ในอนาคต เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์และนักธุรกิจทั่วโลกให้ความสนใจ
เพราะความผันผวนของราคาที่ยากต่อการควบคุมทำให้ชาวสวนยางพาราหาทางแก้ปัญหาที่นำไปสู่การนำเห็ดแครงวัตถุดิบท้องถิ่นมากประโยชน์ปักหลักลุยตลาด plant based เอาใจสาวกวีแกน
ผลพวงจากไวรัสโควิดธุรกิจต่างๆ ต้องหาวิธีปรับตัว หนึ่งหลายวิธีก็คือใช้วิธีฉีกแนวจากธุรกิจเดิมแล้วไปเริ่มต้นธุรกิจใหม่ เหมือนกับโคเรีย วอลเปเปอร์ ตัดสินใจพลิกมาจับสินค้าที่ความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกปีอย่าง “ทุเรียน”
ธุรกิจหนึ่งที่เสียหายจากการแพร่ของไวรัสคือร้านตัดผมและร้านเสริมสวยที่โดยมากเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก เรียกง่ายๆ คือ SME นั่นเอง ไปดูสถานการณ์ที่อินเดียกันว่าเจ้าของร้านซาลอนทั้งหลายรับมืออย่างไร
แม้จะเกิดในครอบครัวที่ยากจน ลูกชาวนาที่ชื่อว่า “จาง กงหยวน” ดิ้นรนก่อตั้งธุรกิจผลิตรองเท้าของตัวเอง จนกระทั่งในเวลานี้เขาได้กลายบุคคลที่รวยเป็นอันดับ 1 ของไต้หวันไปแล้ว
ในตลาดลูกอมลูกกวาดมีการแข่งขันสูงมาก Nicko Jeep จึงเริ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่มีความเฉพาะมากขึ้น เป็นที่มาของการสร้างลูกอมสำหรับนักเดินป่า นักกีฬา ผู้ชอบออกกำลังกาย กลายเป็นลูกอมแปลกใหม่ไม่ซ้ำใครและส่งขายไปทั่วโลก
การช้อปปิงออนไลน์ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป โดยเฉพาะเมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาดยิ่งทำให้อี-คอมเมิร์ซเติบโต ซึ่งวิธีที่จะเข้าสู่สนามตลาดออนไลน์ได้เร็ว ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย ก็คือ ใช้โซเชียลมีเดียนี่เอง
สสว. เตรียมให้ความช่วยเหลือ SME ผ่านระบบผู้ให้บริการสนับสนุนด้านการพัฒนาธุรกิจ (Business Development Service : BDS) หรือการจ่ายคนละครึ่งภาค SME เพื่อสร้างทางเลือกให้กับ SME ในการพัฒนาธุรกิจของตนเองให้ตรงตามความต้องการมากขึ้น
นาทีที่คุณเริ่มพยายามขายของเมื่อไร นั่นคือเวลาที่ผู้บริโภค Gen Z จะบอกลาร้านค้าของคุณแน่ๆ นี่คือ 4 เทคนิคจากแบรนด์ดังระดับโลก ที่บอกว่าอย่าเอาแต่ขายแต่จงก่อร่างสร้างความสัมพันธ์ในคอมมูนิตี้ หากเมื่อจริงจังและจริงใจกับพวกเขาเมื่อไร ยอดขายก็ตามมา
ไม่ว่าจะอุตสาหกรรมไหนก็ต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอดและไปต่อด้วยกันทั้งนั้น เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมด้านการออกแบบ สำหรับ 3 นักออกแบบระดับมือรางวัล พวกเขามี “วิธีคิด” และ “ทำ” ที่น่าสนใจ ในการรับมือกับวิกฤต เพื่อเอาตัวรอดและเติบโตในยุค Next Normal
แม้ว่าใน 1 - 2 ปีมานี้อาจไม่คึกคักเหมือนเก่าเพราะด้วยสถานการณ์จากโรคระบาดก็ตาม แต่อย่างไรเสียก็ยังคงมีสินค้าขายดีที่เป็นไอเทมฮอตฮิตตลอดกาลประจำฤดูร้อนและสงกรานต์ออกมาวางจำหน่ายตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค