จากระยะเวลาเกือบปีครึ่งที่ผ่านมา จนถึงวันนี้เราทุกคนยังตกอยู่ในวิกฤตจากไวรัสโควิด-19 ซึ่งก็ไม่รู้ว่าจะกินเวลายาวนานไปอีกสักเท่าใด ในวันนี้จึงขอส่งกำลังใจให้กับผู้ประกอบการไทยอีกครั้งผ่าน 10 บทสัมภาษณ์ผู้ประกอบการเลือดนักสู้ที่ไม่ยอมแพ้ต่อโควิด
นี่คือ “ขนมสุนัข” แต่ไม่ใช่ขนมธรรมดาๆ เพราะทำมาจากโปรตีนแมลง แถมยังช่วยแก้ปัญหา Food Waste ดีต่อสุขภาพน้องหมาและดีต่อสุขภาพของโลกเราด้วย
ในยุคที่ร้านไหนๆ ก็มีส่งเดลิเวอรี แล้วอาวุธแบบไหนที่จะใช้เพิ่มแต้มต่อให้กับสนามแข่งขันนี้ได้ เราชวนมาหาคำตอบกับ Dezpax.com (เดซแพค) ผู้ให้บริการโซลูชันด้านบรรจุภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มครบวงจร หนึ่งในผู้อยู่เบื้องหลังอาหารเดลิเวอรีที่หลายคนคุ้นเคย
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
ในโลกปัจจุบันที่การแข่งขันแย่งชิงความเป็นหนึ่งนั้นแสนจะดุเดือดและเลือดพล่าน โดยเฉพาะกับ 5 เชื้อไฟแห่งความกดดันที่เป็นเหมือนภัยคุกคาม (ไม่เงียบ) ของคนมีกิจการที่ต้องรู้ให้ได้ ดับให้ทัน! และสิ่งที่จะช่วยให้คุณเห็นควันมาแต่ไกลคือ การใช้ Five Forces Model
ย้อนกลับไปในวันที่ประเทศไทยยังไม่มีผู้ผลิต Plant-based กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ทำงานด้านการออกแบบนวัตกรรม เกิดไอเดียที่จะทำร้านอาหารเพื่อสุขภาพ ในคอนเซปต์ Plant-based Thai Street Food ขึ้น โดยใช้เนื้อจากพืชมาปรุงเป็นอาหารรสแซ่บสไตล์สตรีทฟู้ดแบบไทยๆ
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
“น้าเบิร์ด BirdEyeView” แห่งพันทิปดอทคอม ช่างภาพแต่งงานมือรางวัลที่อยู่ในสนามมากว่า 15 ปี ถึงกับต้องบอกคนใกล้ชิดว่า “แพ้แล้ว” เป็นครั้งแรกในชีวิตการทำธุรกิจของเขา แต่ใครจะคิดว่าเพียง 2 วันหลังพูดคำนั้น เขาจะฟื้นทุกอย่างคืนมาได้ด้วยเงินเริ่มต้นแค่หลักร้อย
ในการสรรหาและคัดเลือกพนักงานที่มีความสามารถสูง เป็นคนที่ใช่ (Right People) สำหรับองค์กร ต้องมีการกำหนดคุณสมบัติที่ชัดเจน คุณสมบัติสำคัญที่ใช้กันอยู่ทั่วๆ ไป พอสรุปได้เป็นโมเดลที่เรียกว่า “Good-Can-Want Model”
ผู้ประกอบการในวัยเกือบ 50 ปี แถมยังอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตมากว่า 2 ทศวรรษ แต่ทำไมวันหนึ่งถึงลุกมาทำเรื่องใหม่ๆ อย่าง การตลาดดิจิทัล ผู้ผลิตแอนิเมชัน กระทั่งนวัตกรรมฟาร์มผัก AI ฯลฯ กับเขาได้
ถ้าเราลองมองดูการวางแผนการฟื้นฟูการท่องเที่ยวของ ททท. สิ่งที่เห็นคือ “การวางระยะเวลาการฟื้นฟูที่ชัดเจน” จากเริ่มต้นการคลาย Lockdown ระยะที่ 2 เลือกพื้นที่ “ทดลอง” เปิดประเทศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว และสุดท้ายคือการเปิดประเทศเต็มตัว
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล