บริษัท เจริญอุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) หรือ CH หนึ่งในผู้นำที่อยู่ในแวดวงธุรกิจอาหารมานานกว่า 98 ปี แต่องค์กรมีความทันยุคทันสมัยตลอดเวลา ส่งขนมสุขภาพแบรนด์น้องใหม่อย่าง “Bangkok Tasty by CH” เข้าสู่ไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ต่อจากแพลนต์เบสเจอร์กี้ แบรนด์ Meble
ศูนย์วิจัยธนาคารกรุงไทย ประเมินว่าในปี 2567 ตลาดแพลนต์เบสประเทศไทยจะอยู่ที่ 45,000 ล้านบาทหรือโตเฉลี่ยที่ 10 เปอร์เซ็นต์ต่อปี ทำให้มีผู้เล่นมากมายที่หันมาสนใจตลาดนี้โดยเฉพาะธุรกิจรายใหญ่ที่มีความพร้อมทั้งเครื่องมือและกำลังทุน นี่คือ 2 วิธีที่จะพา SME ที่อยากตีตลาดหมื่นล้านนี้โดยไม่ต้องเสียเปรียบผู้เล่นรายใหญ่
เพราะเทคโนโลยีนั้นไม่ได้เกิดมาเพื่อคนตัวใหญ่เท่านั้น ทุกวันนี้มีเทคโนโลยีที่เหมาะกับธุรกิจ SME ทั้งราคา และสเกลธุรกิจที่ช่วยทำให้ผลิตสินค้าได้รวดเร็วและได้มาตรฐานอาทิ เครื่องผลิตซาลาเปา เครื่องจีบขนมจีบ ฯลฯ ที่สำคัญเครื่องจักรเหล่านี้ราคาไม่เกินหนึ่งล้านบาท
“แชะก่อนชิม” พฤติกรรมนี้เป็นส่วนหนึ่งของการตลาดที่เรียกว่า UGC (User-Generated Content) คือ การที่ลูกค้าหรือผู้บริโภคสร้างคอนเทนต์ให้กับแบรนด์โดยที่เจ้าของแบรนด์ไม่ได้เสียเงินว่าจ้างแต่อย่างใด
เพราะเชื่อว่าการใช้รถบรรทุกที่ยาวขึ้นจะช่วยเกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 1.4 พันล้านปอนด์ และช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ 70,000 ตัน ล่าสุด รัฐบาล UK ได้อนุมัติให้ใช้รถบรรทุกที่ยาวกว่าเดิม 2.05 ม. ที่จะเริ่มให้วิ่งบนท้องถนนได้ตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม 2566
กลับมาอีกครั้งกับ Taobao Maker Festival: เถาเป่า เมคเกอร์ เฟสติวัล เพื่อเฉลิมฉลองความคิดสร้างสรรค์ของผู้ประกอบการรุ่นใหม่ SME Thailand Online ได้รวบรวมไฮไลท์ผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนความสนใจของผู้บริโภคยุคใหม่มาไว้ให้แล้ว
จากรายงานของ The New York Times กล่าวว่าเจ้าของสัตว์เลี้ยงหลายคนในสหรัฐอเมริกากำลังเลิกให้อาหารเม็ดหรืออาหารแห้งแก่สัตว์เลี้ยงแล้ว และพยายามคัดสรรเกรดอาหารให้ใกล้เคียงกับอาหารของมนุษย์มากขึ้น แม้จะมีราคาแพงกว่า แต่ก็ยอมจ่าย เพราะเชื่อว่าดีต่อสุขภาพมากกว่าอาหารแบบดั้งเดิม
มีคำกล่าวไว้ว่าธุรกิจจะยั่งยืนและเติบโตต่อไปได้ต้องควบคู่กับการมีสังคมที่ดีด้วย “Social Enterprise” จึงเป็นหนึ่งในทางเลือกที่น่าสนใจ แต่การจะทำให้ทั้งสองดำเนินคู่กันได้ไม่ใช่เรื่องง่าย วันนี้มีเคล็ดลับจากแบรนด์ "สิริกุญชร" มาฝากกัน
ใครจะเชื่อว่าพลังเฟซบุ๊กกรุ๊ปจะส่งผลให้ขนมตะแกรงเผือก กลับมามีออร์เดอร์ทะลักทะลวงอีกครั้ง นั่นก็เป็นสัญญาณให้ "อีฟ-อัมภานุช บุพไชย" ซึ่งกำลังเรียนจบปริญญาโท ตัดสินใจมาช่วยธุรกิจบ้านแฟน "เอ๋-กษิรา ขันติศิริ" ที่ทำธุรกิจขนมมากว่า 40 ปี ไม่ให้ต้องสูญหายไปพร้อมโควิด
เจตนาที่ต้องการช่วยเกษตรขายข้าวได้กิโลกรัมละไม่กี่บาท กลายเป็นการจุดประกายให้ ณภัทร อินทรเสน และ ฐิตารีย์ ทวาสินฐิติทัช สองสามีภรรยาหันมาทำธุรกิจเดลิเวอรี ผ่านไปเพียงสองปี กิจการที่คิดว่าทำฆ่าเวลา สามารถทำรายได้ถึงเป้า 5 แสนติดกัน 3 เดือน สู่การเปิดหน้าร้านที่เมืองทองธานีที่ยังคงไปได้ดี
ไม่ว่าคุณจะทำธุรกิจอะไร ถ้าทำให้ลูกค้ากลับมาซื้อซ้ำได้ ความสำเร็จก็อยู่แค่เอื้อม แต่การทำให้ลูกค้ากลับมาซื้อซ้ำได้ต้องมีองค์ประกอบอะไร ไปฟังเฉลยจากร้านอาหารญี่ปุ่น Nori Sushi Bar
"อบในโอ่ง" ร้านอาหารเล็กๆ ย่านรามอินทรา ที่เปิดดำเนินการมาได้กว่า 3-4 ปี มีเมนูขึ้นชื่อ คือ หางหมูอบโอ่ง, ไก่อบโอ่ง, หมูกรอบอบโอ่ง แต่กว่าจะมาถึงวันนี้ได้ ต้องเจอกับอุปสรรคนับครั้งไม่ถ้วน แต่สุดท้ายก็ผ่านมาได้ ด้วยวิธีคิดแบบวิทยาศาสตร์ จะเป็นยังไงมาติดตามกัน