เกือบ 2 ปีที่คนไทยอยู่กับคำว่า โควิด 19 แต่ชีวิตต้อง Move on แต่ถ้าหากวันนี้สถิติยังขึ้นๆ ลงๆ ยังไปไหนไกลไม่ได้ “แบรนด์” จึงต้องวางกลยุทธ์การตลาดล่วงหน้า การปล่อยอาวุธเพื่อ สร้างยอดขาย จึงตอบโจทย์ความต้องการของผู้บริโภคและสร้าง Customer Journey ที่นอกกรอบจากแบบเดิมๆ
เพราะโลกทุกวันนี้ คือ การสื่อสาร หลายธุรกิจจึงพยายามแข่งขันกันที่การสร้างคอนเทนต์ให้ดัง ให้ปังกว่า เพื่อหวังว่าให้แบรนด์เป็นที่รู้จักมากขึ้น เมื่อคนเห็นเยอะขึ้น ก็จะได้กลับมาซื้อสินค้าเราเยอะขึ้น แต่ความจริงแล้วเป็นแบบนั้นจริงไหม
ทำธุรกิจยังไงให้กระแสไม่ตก ผู้บริโภคไม่ลืม 10 ปี เจคิว ปูม้านึ่ง ลูกค้ายังมั่นใจสั่งออเดอร์ละเป็นแสน
ในปี 2565 คือปีที่ เจคิว ปูม้านึ่ง ผู้บุกเบิกธุรกิจซีฟู้ดเดลิเวอรีของเมืองไทย อยู่มาครบ 10 ปี พอดิบพอดี (ก่อตั้งเมื่อปี 2555) ท่ามกลางกระแสธุรกิจอาหารที่เปลี่ยนไปชนิดวันต่อวัน เรียกว่าแค่หลับตาตื่นเมนูยอดนิยมเมื่อวานนี้ก็อาจตกเทรนด์ไปแล้ว
เรื่องเงิน คือ เรื่องใหญ่ของธุรกิจ โดยเฉพาะในเวลาที่คับขันเช่นนี้ เราจะบริหารจัดการเงินยังไงให้ธุรกิจประคองอยู่รอดได้
งานคิดและงานครีเอทีฟ คนไทยไม่แพ้ชาติใดในโลกอยู่แล้ว ไม่ว่าจะเป็นงานคิดขึ้นมาใหม่ๆ หรืองานสร้างสรรค์ดัดแปลงจากสิ่งที่มี
ในช่วงที่ผ่านมาเชื่อว่าในการทำธุรกิจของผู้ประกอบการไทยทุกคนต้องเจอกับเรื่องของกระแสเงินสดที่อาจไม่คล่องตัว ซึ่งการจะประคองธุรกิจให้อยู่รอดได้การรักษาสภาพคล่องหรือเงินทุนหมุนเวียนสำคัญที่สุด
ทุกวันนี้มีของเสียของเหลือทิ้งกันมากมาย โดยเฉพาะในกระบวนการผลิตสินค้า ที่ผ่านๆ มาหลายคนมักใช้วิธีการทิ้ง ซึ่งไม่สงผลดีต่อโลกแล้วยังไม่เกิดมูลค่าให้กับธุรกิจ จะดีแค่ไหนหากของเหลือจากกระบวนการผลิตจะกลายเป็นของมีค่าขึ้นมาใหม่
หากพูดถึงธุรกิจค้าปลีกเฟอร์นิเจอร์ที่คุณภาพดีราคาไม่แพงก็ต้องยกให้แบรนด์ “อิเกีย” จากสวีเดนที่ขึ้นแท่นร้านขายเครื่องเรือนและของใช้ในบ้านที่มีขนาดใหญ่สุดในโลก
หลายคนต้อนรับปีใหม่ด้วยการตั้งเป้าหมายใหม่ ปณิธานปีใหม่ หรือเขียนรายการสิ่งที่ต้องทำในปีนี้ เราอยากแนะนำหนังสือที่เป็นเสมือนคู่มือปรับเปลี่ยนเพื่อให้ได้ผลอย่างยั่งยืน
จะถามว่าธุรกิจอะไรที่ทำเงินได้ดีในยุคนี้ ไม่ต้องคิดให้ปวดหัว เพราะมีไม่มากนัก และหนึ่งในนั้นคือ ธุรกิจคลังสินค้า (Warehouse) ของไทยเฉพาะปี 2563 ปีเดียวทำรายเกือบ 9 หมื่นล้านบาท
ปฏิเสธไม่ได้ว่าวิกฤตโควิดได้สร้างบาดแผลและรอยช้ำให้กับหลายธุรกิจ แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่าวิกฤตดังกล่าวก็กลับสร้างลู่ทางรายได้ใหม่ๆ ให้กับธุรกิจเช่นกัน
ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมาธุรกิจเอสเอ็มอีต้องเผชิญกับสถานการณ์ที่ท้าทายต่อการประกอบธุรกิจ แต่แน็คเก็ต (Nacket) และ แคบหมึก รุ่งธนา ไม่ใช่แค่สามารถเติบโตในช่วงวิกฤติโควิด-19 แต่ยังทำรายได้แตะหลักสิบล้าน