การลงทุนผ่านระบบแฟรนไชส์ คือทางลัดในการเริ่มต้นธุรกิจ แต่ไม่ใช่ทุกแฟรนไชส์จะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในสถานการณ์เช่นนี้ ที่มีทั้งวิกฤตไวรัส เศรษฐกิจซบเซา กำลังซื้อหด ตลอดจนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนจากวิถี New Normal
Fast Fashion ที่ผลิตออกมาจำนวนมากเพื่อขายในราคาถูกเป็นต้นตอของการทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างมหาศาล ทั้งในแง่ของการสร้างมลพิษและเอาเปรียบแรงงาน ผู้บริโภคสายกรีนจึงหันมาเลือกใช้สินค้าอย่างมีจริยธรรม ทำลายวงจรของการซื้อ-ใช้-ทิ้งอย่างรวดเร็ว
“Yardbird” ไม่เพียงแค่อยากขายสินค้าคุณภาพดีในราคาถูก แต่เริ่มต้นด้วยจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม พวกเขาตั้งใจผลิตชิ้นงานจากขยะพลาสติกที่ถูกดักจับในมหาสมุทรออกมาขาย
สถานการณ์โควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจเผชิญกับความยากลำบาก โดยเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรม และอาจจะต้องใช้เวลาอีกพักใหญ่กว่าจะกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติได้ ดังนั้นหลายองค์กรจึงต้องรัดเข็มขัด ลดต้นทุน เพื่อประคองให้ผ่านช่วงเวลานี้ไปได้
นอกจากช่วยปกป้องสินค้า จัดส่งปลอดภัยถึงมือผู้รับแล้ว “บรรจุภัณฑ์” ยังเป็นด่านแรกที่สร้างความประทับใจให้แก่ลูกค้าได้อีกด้วย แต่ขณะเดียวกันก็สร้างให้เกิดปริมาณขยะเหลือทิ้งจำนวนมากเช่นกัน
“LastObject” คือบริษัทที่เคยออกแบบสำลีก้านที่สามารถใช้ซ้ำได้มาก่อน ผุดไอเดียผลิตทิชชูเช็ดหน้าแบบใช้ซ้ำขึ้นมาเพิ่มเติม ในชื่อ “LastTissue” โดยการใช้กระดาษทิชชูดังกล่าว 1 กล่อง ช่วยลดการใช้ทิชชูแบบปกติทั่วไปที่ใช้แล้วทิ้งได้มากถึง 2,800 แผ่นทีเดียว!
ในปี 2020 นี้ เรียกได้ว่าเป็นก้าวสำคัญของผลิตภัณฑ์ไทยในการยกระดับไปสู่การเป็นที่ยอมรับของตลาดโลก ด้วยพลังของการออกแบบ โดย Demark Award ที่จัดต่อเนื่องเป็นปีที่ 13 ภายใต้คอนเซ็ปต์ “Circular Design, Cycle of Life ดีไซน์ หมุนเวียน เปลี่ยนโลก
ในยุคปัจจุบัน การสร้างผลิตภัณฑ์ขึ้นมานั้นไม่ได้คำนึงถึงเพียงแค่การใช้งาน ความสวยงาม ความโดดเด่นหรือความคิดสร้างสรรค์ในการดึงดูดลูกค้าเท่านั้น หากแต่ต้องมาพร้อมการรับรู้และร่วมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมด้วย โดยเฉพาะปัญหาสิ่งแวดล้อม
การระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อภาคธุรกิจไปจนถึงตลาดแรงงาน ทำให้จำนวนคนตกงานสูงกว่าทุกวิกฤตที่ประเทศไทยเคยเจอมา โดยมีคนทำงานถูกเลิกจ้างหรือพักงานสูงถึง 1 ใน 4 ของแรงงานทั้งประเทศ
การระบาดของโควิด-19 และมาตรการล็อกดาวน์ผลักดันให้คนจำนวนมากได้ Work from Home เป็นเวลา 2-3 เดือน จนถึงตอนนี้รัฐบาลประกาศเปิดเมืองและกลับมาใช้ชีวิตตามปกติ แต่มีคนจำนวนไม่น้อยติดใจการ Work from Home เข้าให้แล้วล่ะ
การระบาดของไวรัสโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจ รวมถึงผู้ประกอบการในกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ ที่ต้องปรับกลยุทธ์เพื่อการอยู่รอดในยุคที่กระเป๋าตังค์ของผู้บริโภคเบาบางลง มีการคาดกันว่าวิถี New Normal จะเข้ามาเป็นปัจจัยการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในอนาคต
ไวรัสโควิด-19 ทำให้ผู้คนต้องปรับโหมดสู่การทำงาน Work From Home หลายคนอาจคิดว่าประสิทธิภาพในการทำงานอาจลดลง คนอาจต้องรู้สึกเหงา แต่ผลการวิจัยพบว่า คนส่วนใหญ่พึงพอใจกับการทำงานแบบยืดหยุ่น และมองว่าการทำงานจากที่บ้านทำให้ชีวิตการทำงานดีขึ้น