ทันทีที่รัฐบาลประกาศเปิดประเทศให้ผู้ที่ได้รับวัคซีนครบตามที่กำหนดไว้เดินทางเข้ามาได้โดยไม่ต้องกักตัวในวันที่ 1 พ.ย.2564 ที่จะถึงนี้ ในฐานะธุรกิจโรงแรมธุรกิจด่านหน้าที่ต้องต้อนรับนักท่องเที่ยวจะต้องทำเช่นไร
ในอนาคตหุ่นยนต์จะเข้ามาดูแลเรื่องอาหารการกินของผู้คน และภาพแบบนี้กำลังเป็นรูปเป็นร่างขึ้นเรื่อยๆ อย่างน้อยตอนนี้ก็มีหุ่นยนต์ที่เตรียมเบอร์เกอร์อร่อยๆ ให้แล้วที่ร้าน Creator Burger
“Nimnim” แบรนด์เส้นโปรตีนจากไข่ขาวนวัตกรรมครั้งแรกของโลก ที่แม้จะเริ่มต้นจากงานวิจัยในห้องแลป แต่ทุกอย่างจะคำนึงถึงผู้บริโภคเป็นหลัก และราคาจับต้องได้ด้วย จึงจะต่อยอดกลายเป็นธุรกิจที่ยั่งยืน ทำเงิน สร้างรายได้ให้แบรนด์ในระยะยาว
ในการเติบโตทางธุรกิจนั้นมีรูปแบบที่น่าหลงใหลอยู่ นั่นก็คือ เติบโตแบบก้าวกระโดด (Exponential Growth) ด้วยกลยุทธ์ Scale Up การปรับปรุงและหรือขยายองค์กรด้วยวิธีและรูปแบบการทำงานให้สามารถมีประสิทธิผลมากว่าทรัพยากรที่ใช้ไป
โลกออนไลน์กลายเป็นทางรอดของหลายธุรกิจในยุคโควิด “Sticky” เป็นร้านลูกอมแฮนด์เมดในออสเตรเลียเป็นหนึ่งในนั้น หลังจากยอดหายหดจนเหลือ 0 ร้านก็ได้เริ่มโพสต์กระบวนวิธีการทำขนมอันน่าตื่นตาตื่นใจของร้านลงบนโซเชียลมีเดีย
ชัยวิวัฒน์ อ่อนอนันต์ ค้นพบวิธีเปิดร้านอาหารเล็กๆ ให้ประสบความสำเร็จได้จากตัวเองแม้อยู่ในทำเลไม่ดี แต่ก็มีลูกค้าแวะเวียนมาชิมไม่ขาดสายตั้งแต่วันแรกที่เปิดร้านจนกระทั่งเจอกับวิกฤตโควิดทางร้านก็ยังไม่เคยประสบภาวะขาดทุน
ชั่วโมงนี้ถ้าพูดถึงร้านผลไม้ที่ถูกพูดถึงมากที่สุดในโลกออนไลน์ คงเป็นอย่างอื่นไปไม่ได้นอกจากร้าน “สยามฟรุทส์” ร้านผลไม้ในตำนานของวัยรุ่นไทยย่านสยามสแควร์ซอย 3 หลังประกาศปิดร้านจากผลกระทบโควิด-19
ธุรกิจอะไรที่เติบโตสวนพิษโควิดได้อย่างไม่กลัวไวรัส? ที่เด่นชัดก็คงจะเป็น Mango Tree : แม็งโกทรี ร้านอาหารไทยในเครือเดียวกันกับร้านสุกี้ “โคคา” ที่เติบโตได้อย่างไม่กลัวโควิดที่วัดได้จากแพลนเปิดร้านอาหารใหม่รวม 17 แห่งปีนี้ทั้งในไทยและเอเชีย
โควิด-19 ทำให้พื้นที่เคยเป็นทำเลทองกลับกลายเป็นทำเลร้าง ทำเลที่เคยมีค่าเช่าที่แพง ปัจจุบันค่าเช่ายังแพงเหมือนเดิมแต่ร้านค้ากลับไม่สามารถขายได้ Penguin Eat Shabu (เพนกวิน อีท ชาบู) ก็เผชิญกับสถานนี้เช่นกัน
ไม่ว่าจะบริษัทหรือตัวพนักงานเองต่างก็ต้องเรียนรู้ ปรับตัวให้เข้ากับการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ ทำให้เกิดสกิลใหม่ๆ ขึ้นมากมาย โดยเฉพาะการทำงานที่ไม่ต้องยึดติดกับการเข้าออฟฟิศ อยู่บ้าน หรือที่ไหนก็สามารถทำงานได้
ย้อนกลับไปเกือบ 10 ปีก่อน “calligrapher” หรือ “นักออกแบบตัวอักษรผ่านลายมือ” เป็นอาชีพที่ยังไม่เป็นที่รู้จักในสิงคโปร์ แต่ปัจจุบัน ธุรกิจเกี่ยวกับ calligrapher เริ่มมีให้เห็นประปราย
คนทำธุรกิจทุกคนรู้ดีว่า ‘ข้อมูล’ ของลูกค้าเป็นเหมือนขุมทรัพย์ที่จะช่วยให้ชี้ทางสว่างให้กับธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในช่วงเวลาที่ผู้ประกอบการได้รับผลกระทบจากโควิด-19 ยิ่งต้องทำความเข้าใจผู้บริโภคให้มากขึ้นและเร็วขึ้นเท่าตัว