ในวิกฤตที่เกิดขึ้นนี้ก็กลับทำให้เราได้เห็นแบรนด์และผู้ประกอบการที่ฉายแววเป็นนักสู้และเอาตัวรอดได้อย่างโดดเด่น จนเป็นที่จดจำและเป็นตัวอย่างให้กับธุรกิจอื่นหรือบุคคลทั่วไปได้นำไปปรับใช้และสร้างกำลังใจให้กับตัวเองได้
ในวิกฤตย่อมมีโอกาสฉันใด ในสภาพเศรษฐกิจฝืดเคืองและสถานการณ์โรคระบาดเช่นนี้ ก็ย่อมมีสินค้าที่ขายดีพุ่งสวนกระแสขึ้นมาฉันนั้น จนกลายเป็นสินค้าขายดีแห่งปี 2020 ซึ่งหลายชนิดอาจมีมานานเป็นนับสิบปีแต่กลับเพิ่งมาแจ้งเกิดก็ปีนี้
“ปีเตอร์ ดรักเกอร์” กูรูด้านการบริหารจัดการผู้ล่วงลับ กล่าวไว้ว่า “พนักงานที่ลาออก ส่วนใหญ่ไม่ใช่เพราะองค์กร แต่ออกเพราะหัวหน้า” ยังคงเป็นความจริงที่น่าเกลียดสำหรับหลายๆ องค์กร
ธุรกิจการโรงแรมและการท่องเที่ยวน่าจะฟื้นตัวช่วงไตรมาส 3 หรือไตรมาส 4 ของปีหน้า 2564 อาจทำให้เราจำเป็นที่จะต้องมองหาทางออกอื่นสำรองไว้เป็นทางเลือกเพื่อความอยู่รอด คำถามคือ แล้วเราจะสามารถหาโอกาสในสายงานอาชีพอื่นอะไรได้บ้าง?
วันนี้การทำธุรกิจอยู่บนความไม่แน่นอน จะทำอย่างไร SME ถึงจะปรับตัว ปรับวิธีคิด เพื่ออยู่รอดได้หลังสถานการณ์วิกฤต และมีโอกาสเติบโตรุ่งในโลกที่เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงนี้
กุญแจสำคัญในการปลูกฝังวัฒนธรรมที่เข้มแข็งคือการสื่อสารที่ชัดเจน พนักงานทุกคนควรมีความเข้าใจค่านิยมขององค์กรและรู้สึกเชื่อมโยงกับคุณค่านั้นเป็นอย่างดีด้วย แต่เทรนด์ Remote Working หรือ การทำงานที่ไหนก็ได้ อาจกลายเป็นอุปสรรคที่ทำให้การสื่อสารกับคนทั้งองค์กรไม่ดีเท่าที่ควร
พฤติกรรมผู้บริโภคคนไทย หลังผจญกับสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 และเริ่มเรียนรู้การใช้ชีวิตแบบ New Normal ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจมากมาย
มีผู้ประกอบการจำนวนไม่น้อยที่เริ่มต้นธุรกิจจากความคลั่งไคล้ในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่นเดียวกับ “ยุวดี มีทำ” กรรมการผู้จัดการ บริษัท แคปหมึก ฟู้ดแอนด์ มาร์เก็ตติ้ง จำกัด เจ้าของผลิตภัณฑ์แคปหมึก ตรา Ocean Boy เธอนิยามตัวเองว่าเป็น “Squid Lover” สาวกที่ชื่นชอบปลาหมึกเป็นชีวิตจิตใจ
ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 8 ปีก่อน “ภูเก็ต” ยังเป็นหมุดหมายของนักท่องเที่ยวสาย Sea Sand Sun ทว่าวันนี้หลายคนไปเที่ยวภูเก็ตเพราะอยากเสพวิถีชีวิต เยี่ยมเยือน Phuket Old Town ภาพความเปลี่ยนแปลงนี้ มีชายชื่อ “มโนสิทธิ์ แจ้งจบ” เป็นหนึ่งคนอยู่เบื้องหลัง
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
ว่ากันว่าสิ่งที่ยากที่สุดหลังโควิด-19 คือพฤติกรรมของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยน และพฤติกรรมที่ว่านี้กำลังส่งมอบโจทย์ท้าทายให้กับผู้ประกอบการในกลุ่มต่างๆ รวมถึงตลาดที่อยู่อาศัยและธุรกิจที่เกี่ยวข้อง ทั้งรายใหญ่รายเล็ก รายเก่าและรายใหม่ ที่ต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ ปรับเปลี่ยนวิธีการในกา..
การลงทุนผ่านระบบแฟรนไชส์ คือทางลัดในการเริ่มต้นธุรกิจ แต่ไม่ใช่ทุกแฟรนไชส์จะประสบความสำเร็จ โดยเฉพาะในสถานการณ์เช่นนี้ ที่มีทั้งวิกฤตไวรัส เศรษฐกิจซบเซา กำลังซื้อหด ตลอดจนไลฟ์สไตล์ของผู้บริโภคที่แปรเปลี่ยนจากวิถี New Normal