ในห้วงเวลาที่ประเทศไทย ยังเผชิญหน้ากับสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 กลายเป็นความท้าทายของผู้นำคนใหม่ของ สสว. ที่จะวางนโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน SME ไปในทิศทางไหน เพื่อให้ก้าวผ่านวิกฤต และมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
ถ้าวันหนึ่งพนักงานในองค์กรของเราติดโควิด เราจะรับมือกับเหตุการณ์นี้อย่างไร? สำหรับ “ศุภรัตน์ โชติสกุลรัตน์” ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท ยูไนเต็ด แอนนาลิสต์ แอนด์ เอ็นจิเนียริ่ง คอนซัลแตนท์ จำกัด (UAE) รับมือกับเรื่องนี้ด้วยการพลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส
ยุคนี้การพิมพ์ดิจิทัลและพิมพ์บรรจุภัณฑ์กำลังเติบโตจนเรียกได้ว่าเป็น Sunrise ไซเบอร์พริ้นท์กรุ๊ป มองว่าการพิมพ์ดิจิทัลในจำนวนน้อยจะมีความสำคัญมากขึ้นในอนาคต จึงเริ่มขยับขยายหาโอกาสให้กับธุรกิจ
ในวันที่โลกได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 การออกงานแฟร์ที่เป็นลักษณะเสมือนจริง หรือ Virtual Trade Fair กลายเป็นทางออกและคำตอบ ที่สำคัญยังสามารถแก้ปัญหา “ได้ไม่คุ้มเสีย” ที่ SME เคยเผชิญมาในอดีตอีกด้วย
สิ่งที่ SME จะต้องเตรียมรับมือ คือในปีหน้าเศรษฐกิจไทยอาจจะยังฟื้นตัวอย่างช้าๆ จากหลายปัจจัยที่เข้ามากดดัน โดยเฉพาะ “แผลเป็นทางเศรษฐกิจ” (Scarring Effects) ทั้ง 3 อย่างนี้
“CLASS Café” เป็น SME ที่เติบโตด้วยวิธีคิดแบบ Startup โดยลงทุนขยายสาขาอย่างรวดเร็ว แต่วิกฤตโควิด-19 ที่โหมกระหน่ำทั่วโลก ทำให้พวกเขาต้องสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแกร่ง แบบที่หากเจอเรื่องไม่คาดฝันในอนาคต ธุรกิจก็จะยังสามารถคงอยู่ต่อไปได้
แม้จะแตกต่างจากกิจการทั่วไป แต่ในช่วงที่เกิดวิกฤตโควิด-19 เหล่าธุรกิจเพื่อสังคมก็ได้รับผลกระทบที่หนักหน่วงไม่ต่างกัน ทำอย่างไรถึงจะข้ามผ่านวิกฤตและไปต่อได้ในโลกยุค Never Normal มาฟังคำตอบและทางออกจากกูรูนักการตลาดกัน
ยุคนี้ผู้บริโภคหาข้อมูลจากหลายๆ ช่องทาง มิได้จำกัดอยู่แค่ Google เหมือนเช่นแต่ก่อน กว่าจะตัดสินใจซื้อสินค้าสักชิ้น ต้องค้นหาทั้ง Google, Facebook, Line, Youtube, Pantip ฯลฯ ทำให้ Customer Journey ยาวเป็นหางว่าว ครั้นจะให้ SME ที่มีงบประมาณจำกัด ไปหว่านเงินโฆษณารายทาง ก็คงจะไม่ใ..
สถานการณ์โควิด-19 ในไทยกำลังคลี่คลาย เรากลับมาดำเนินชีวิตกันได้ปกติ ธุรกิจได้ผ่านช่วงเวลาที่หนักหนาที่สุดกลับเปิดให้บริการเต็มรูปแบบเสียที แต่ผลกระทบที่ผ่านมาสร้างบาดแผลให้กับธุรกิจไม่น้อย นี่คือ 5 สิ่งที่ SME ต้องคิดเพื่อก้าวต่อไปอย่างแข็งแกร่ง
หลายธุรกิจที่ดำเนินกิจการมาอย่างยาวนาน บางครั้งเหตุผลก็ไม่ใช่เพียงแค่รายได้ก้อนงาม แต่อาจหมายถึงการทำหน้าที่บางอย่าง เพื่อสร้างทางเลือกให้กับผู้บริโภค หรือแม้แต่การดำรงมรดกของครอบครัวให้คงอยู่สืบไปเท่านั้น
Text : นิตยา สุเรียมมา Main Idea เคยคิดไหมว่าทำไมเสื้อยืดสีพื้น เรียบๆ อย่าง ‘ห่านคู่’ ถึงอยู่คู่กับเมืองไทยมาได้เกือบ 70 ปี แถมยังสร้างรายได้อยู่อย่างเงียบๆ กว่า 500 ล้านบาทต่อปีได้! อะไร คือ เคล็ดลับความสำเร็จของการทำธุรกิจ สินค้าเพียงชนิดเดียว ทำไมถึงอยู่มายาวนาน..
ปี 2020 “เจนวาย” จะเป็นพลเมืองที่ใหญ่ที่สุดขององค์กร เจน Z จะเข้ามาทำงานกันเยอะขึ้น ขณะที่รุ่นพี่เบบี้บูม และเจนเอ็กซ์จะทยอยลดน้อยถอยลง ซึ่งทั้ง 4 กลุ่มนี้แตกต่างกัน มีความต้องการ ความชอบ และไลฟ์สไตล์ในการทำงานที่ต่างกัน