หลายธุรกิจอาจต้องปิดตัวลง เพียงเพราะไม่สามารถปรับธุรกิจให้ตรงกับตามความต้องการของผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้ ซึ่งหนึ่งปัจจัยสำคัญคือการถูก Disruption ซึ่งหลายคนมองว่าไกลตัวและเป็นแค่เรื่องที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีเท่านั้น ทว่าในความจริงแล้วไม่ใช่แค่นั้น
โจทย์ใหญ่ของค้าปลีกวันนี้คือต้องปรับตัวเพื่ออยู่รอด โดยต้องรู้จักประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาเพิ่มแต้มต่อ ใช้หมัดเด็ดอย่างการบริการและกิจกรรมดึงความสนใจลูกค้าให้เข้าร้าน แต่หากไม่ปรับเปลี่ยนให้ไว ในอนาคตอันใกล้ก็เตรียมตัวพ่ายให้รายใหญ่ที่ทั้งเก่งและวิ่งเร็วได้
การเปลี่ยนแปลงมักมาคู่กับวันเวลาที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว จึงไม่น่าแปลกใจที่องค์กรต่างๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ปัญหาคือ คนในองค์กรพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนตัวเองในอัตราเร่งที่รวดเร็วทันกับการเปลี่ยนแปลงขององค์กรหรือไม่
จะเกิดอะไรขึ้นในปี 2020 เทรนด์อะไรกำลังมา อะไรคือโจทย์ท้าทาย แล้วอะไรคือโอกาส สำหรับผู้ประกอบการ SME นี่เป็นเรื่องที่ต้องเกาะติดและเตรียมความพร้อม เพื่อเปลี่ยนทุกเทรนด์เป็นโอกาส และยืดหยัดได้อย่างแข็งแกร่งในทุกสภาวะ
หลายครั้งที่ผลิตสินค้าออกมาแล้วได้รับคำชมอย่างล้นหลาม ว่าสินค้าดี มีคุณภาพ ดีไซน์สวย น่าลองใช้ แต่ยอดขายที่ได้กลับไม่ดีเลยสักนิด เพราะลูกค้าแค่ชม ชอบ แต่ไม่ช้อป มาหาทางออกในเรื่องนี้กันดีกว่า
“บุ๊คโทเปีย” ร้านหนังสืออิสระแห่งลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี ที่เปิดดำเนินการมากว่า 13 ปี และมีรูปแบบการทำธุรกิจในแบบเฉพาะของตัวเอง จนมีลูกค้ายอมขับรถไกลกว่า 200 กิโลเมตร จากกรุงเทพฯ เพื่อมาซื้อหา
หลายธุรกิจต้องหยุดชะงักกับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วและมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลาในยุคดิจิทัล ซึ่งการเปลี่ยนผ่านนั้นไม่ได้เกิดขึ้นแค่กับธุรกิจใหญ่ๆ เท่านั้น หากแต่ SME ก็ได้รับผลกระทบมากน้อยไปด้วยเช่นกัน
เชื่อหรือไม่ว่า “ทัศนคติและมุมมอง” สามารถเปลี่ยนทุกสิ่งได้ แม้แต่การเปลี่ยนปัญหาให้เป็นโอกาส เปลี่ยนอุปสรรคให้เป็นเส้นทางสู่ความสำเร็จ เช่นเดียวกับ “farmfactory” ร้านสลัดจานด่วนที่ตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ผู้บริโภคยุคใหม่ ซึ่งเริ่มต้นจากคนไม่รู้ธุรกิจ และเจอกับอุปสรรคหนักๆ อยู่หลายครั้..
สำหรับผู้ประกอบการส่งออก นี่นับเป็นอีกปีที่หนักหน่วง และต้องเดิมพันความอยู่รอดด้วยสายป่านที่แต่ละคนมี เพราะไม่ว่าจะปรับตัวมากี่กระบวนท่ากี่วิธีก็ดูจะไม่มีทางออกง่ายๆ ชวนคุยกับผู้ส่งออกที่ต้องรับชะตากรรม “จำศีล-รัดเข็มขัด” สังเวยความช้ำธุรกิจส่งออกปี 62
การเปิดตลาดส่งออกสำหรับผู้ประกอบการ SME ไม่ใช่เรื่องยากแต่ก็ไม่ง่าย เพราะในโลกการค้าไร้พรมแดนที่มีอินเทอร์เน็ตเป็นตัวเชื่อม ทำให้การติดต่อค้าขายง่ายแค่ปลายนิ้ว แต่การจะได้คู่ค้าที่ดีก็เป็นการเสี่ยงดวง โดยเฉพาะผู้ส่งออกรายใหม่ที่อาจยังขาดประสบการณ์และต้องเริ่มต้นด้วยการลองผิดลอง..
ในการประกอบธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นช่วงเริ่มต้น ช่วงของการขยับขยาย หรือกำลังประสบปัญหา หรือกำลังเจอกับโจทย์แบบไหน สิ่งสำคัญที่สุดในทุกช่วงเวลาเหล่านั้นก็คือ “เงินทุน” ยิ่งเงินพร้อมเท่าไร ธุรกิจก็ยิ่งเติบโตได้ไวเท่านั้น
ปี 2561 ที่ผ่านมา มีร้านอาหารเปิดใหม่ทั่วประเทศสูงถึง 34,934 ร้าน ซึ่งเพิ่มสูงขึ้นกว่าปี 2560 ที่ 9.6 เปอร์เซ็นต์ โดยเดิมทีมีอัตราการเติบโต 8.5 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2560 และ 5.9 เปอร์เซ็นต์ ในปี 2559