ชีวิตเริ่มต้นใหม่ได้เสมอ “เราอย่าไปกักขังตัวเอง อย่าไปจองจำอิสรภาพตัวเอง” สิ่งสำคัญที่สุดของการได้รับอิสรภาพไม่ได้อยู่ที่กำแพงสูงใหญ่มีลวดหนามล้อมรอบ สิ่งสำคัญที่สุดก็คือ โอกาส ผมอยากให้คนที่เคยพลาดลองเปิดโอกาส พิสูจน์ตัวเองดู
มีการคาดการณ์ว่าในปี 2024 ตลาดกาแฟในจีนจะมีมูลค่าเกิน 330,000 ล้านหยวน และจะเติบโตปีละราว 10 เปอร์เซนต์ตลอด 5 ปีข้างหน้า
เป็นเวลากว่าสองปีแล้วที่วันนี้เรายังคงใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับไวรัสโควิด-19 สถานการณ์ดังกล่าวจึงส่งผลต่อพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป เพื่อเอาตัวรอดให้ได้ธุรกิจก็ควรต้องปรับตามไปด้วย
ว่ากันว่าบางคนไม่ได้ Born to be ต้องพยายาม Try to be ยิ่งในยุคที่มีสื่อโซเชียลคนกลุ่มนี้ก็มักใช้พื้นที่นี้แสดงตัวตนผ่านการโพสต์
นับเป็นเวลาเกือบ 2 ปีที่ธุรกิจต่างๆ ไม่ว่าจะขนาดเล็กกลางใหญ่ล้วนโดนพิษโควิด-19 เล่นงาน มีธุรกิจจำนวนไม่น้อยที่ต้องปิดตัว แต่ก็ยังมี ‘เหล่าผู้รอดชีวิต’ จากวิกฤตครั้งนี้ได้ แล้วกลยุทธ์อะไรที่พาให้พวกเขารอด!
“Patagonia” แบรนด์เสื้อผ้าแฟชั่นเอาท์ดอร์ที่มีแนวทางการทำธุรกิจสุดแหวก จากครั้งหนึ่งเคยประกาศลงโฆษณาหน้าหนังสือพิมพ์ว่าอย่าซื้อสินค้าของตัวเอง จนล่าสุดเปิดร้านขายเสื้อผ้ามือสองควบคู่กับของสินค้าใหม่
ในวันนี้คุณอาจจะเป็นเจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก แต่ในวันข้างหน้าธุรกิจของคุณอาจไม่ “เล็ก” อีกต่อไป ลองมาดูเคล็ดลับ 3 ข้อต่อไปนี้ จะกลายเป็นคู่มือที่จะช่วยให้ธุรกิจเติบโต ดึงดูดการลงทุน และส่งเสริมความสำเร็จขององค์กรได้ เหมือนที่ Google ทำได้
นี่คือเรื่องราวของช่อง YouTube ที่ชื่อ “สามอาชีพ เพื่อมนุษยชาติ” คลิปซื่อๆ ที่นำเสนอด้วยความเรียบง่ายและจริงใจ ตั้งคำถามแบบคนไม่รู้เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้แบบเคลียร์ๆ ให้คนที่อยากพึ่งพาตนเองด้วย “สามอาชีพ” คือ กสิกรรมไร้สารพิษ ปุ๋ยสะอาด และขยะวิทยา
วงจรของธุรกิจยุคนี้สั้นลง จนมีความเสี่ยงว่าธุรกิจครอบครัวที่ทำมาอาจไม่ได้ยืนยาวได้จนถึงรุ่นถัดไป ผู้ประกอบการส่วนใหญ่จึงกำลังง่วนกับการรับมือวิกฤตตรงหน้า แต่ระหว่างนี้อย่าลืมเตรียมตัวให้พร้อมสำหรับโลกอนาคตที่จะเปลี่ยนแปลงไปด้วย
ในวันที่ประเทศไทยยังมีโรงงานผลิตกระจกนิรภัยเทมเปอร์ อยู่แค่ไม่กี่โรง “เอสอาร์ แอดวานซ์อินดัสตรีส์” ได้ถือกำเนิดขึ้น วันนี้คู่แข่งในสนามเพิ่มขึ้นเท่าทวี พวกเขาจึงรุกตลาดกระจกนิรภัยรถยนต์ เพื่อทำเรื่องยาก สร้างของใหม่ เล่นในตลาดที่คู่แข่งน้อย
รู้ไหมว่าในปีวิกฤตโควิดที่ผ่านมา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่าง “แสนสิริ” ช่วย SME ไปแล้วกี่ราย? แล้วพวกเขาใช้โมเดลไหนในการช่วยเหลือ ให้ วิน-วิน ทั้งกับแสนสิริและ SME ขณะที่ปีนี้ยังขยายความร่วมมือมาดึงภาคการเงินอย่าง SCB มาร่วมด้วย
“Dylan Vanas” ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาด ได้ให้ความเห็นว่า “การมีตัวตนบนโลกออนไลน์ไม่ใช่เรื่องฟุ่มเฟือยอีกต่อไป แต่เป็นสิ่งที่มีความจำเป็น” ดังนั้น เราจะสร้างตัวตนของธุรกิจบนโลกออนไลน์และเก็บเกี่ยวผลประโยชน์สูงสุดจากกลยุทธ์ทางการตลาดได้อย่างไร