“วี ฟาร์ม” (V Farm) คือแบรนด์ข้าวโพดหวานพร้อมทานที่ขายอยู่ในเซเว่น อีเลฟเว่น วันนี้พวกเขากำลังทรานส์ฟอร์มตัวเองไปสู่โลกของ Plant-Based Food เทรนด์ที่กำลังมาแรง โดยประกาศก้าวเป็น Regional Brand ที่พร้อมโบยบินสู่ตลาดโลกในอนาคต
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
เกษตรกรรุ่นเก่า อาจทำเกษตรโดยใช้สัญชาตญาณ แต่กับ Young Smart Farmer พวกเขาใช้เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือเพิ่มความแม่นยำในการทำเกษตร ช่วยลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อัพแวลู่ให้กับสินค้าเกษตรไทยจนส่งออกต่างประเทศได้ฉลุย
“โอ้กะจู๋” ร้านอาหารสุขภาพที่มีเมนูจัดหนักจัดเต็มและอร่อย จนคนต้องต่อคิวซื้อ มีสาขา 14 สาขา มีฟาร์ม 4 ฟาร์ม มีศูนย์กระจายสินค้า ครัวกลาง พนักงานเกือบพันคน ในปีที่ผ่านมามีรายได้รวมถึงกว่า 643 ล้านบาท!
ผู้ประกอบการในวัยเกือบ 50 ปี แถมยังอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตมากว่า 2 ทศวรรษ แต่ทำไมวันหนึ่งถึงลุกมาทำเรื่องใหม่ๆ อย่าง การตลาดดิจิทัล ผู้ผลิตแอนิเมชัน กระทั่งนวัตกรรมฟาร์มผัก AI ฯลฯ กับเขาได้
“I Love Flower Farm” ธุรกิจสวนดอกไม้สำหรับสายเที่ยวชอบถ่ายรูป ท่ามกลางความสวยงามที่เห็น มีแง่งามดีๆ ซ่อนอยู่เบื้องหลัง และมีคุณค่ามากไปกว่าแค่เรื่องของธุรกิจ เพราะนี่คือโมเดลเพื่อชุมชน ที่คิดโดย Young Smart Farmer ลูกหลานคนทำไม้ตัดดอกขาย
“สุภาฟาร์มผึ้ง” (SUPHA BEE FARM) คือธุรกิจของครอบครัวคนเลี้ยงผึ้ง วันที่ทายาทเข้ามาสานต่อ ธุรกิจเล็กๆ ขยายมามีผลิตภัณฑ์ที่หลากหลาย ขยับจากกิจการหลักสิบล้านบาท กำลังทะยานสู่ธุรกิจร้อยล้าน และเตรียมเดินหน้าสู่บริษัทมหาชน
ไอเดียบรรจุภัณฑ์สินค้าชุมชน ผลงานของ SME นักออกแบบอิสระ และนักศึกษา หนึ่งในดาวเด่นจากการประกวดบรรจุภัณฑ์ไทย ประจำปี 2563 (ThaiStar Awards 2020) ทั้งแบบที่มีจำหน่ายจริงในท้องตลาด และเป็นต้นแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่
การจะทำธุรกิจอะไรก็แล้วแต่ ขอเพียงรู้จักตนเอง รู้ในสิ่งที่ต้องการ รู้ในเส้นทางที่อยากจะไป รวมถึงรู้ในวิธีกระบวนที่จะลงมือทำ แค่นี้ธุรกิจก็สามารถเติบโตได้อย่างมั่นคงแล้ว เหมือนเช่นกับ “แดดดี กรีนฟาร์ม” ธุรกิจฟาร์มผึ้งขนาดเล็กในอำเภอสวนผึ้ง จ.ราชบุรี
วันนี้ภาคการเกษตรต้องเจอกับข้อจำกัดต่างๆ มากมาย ซึ่งล้วนส่งผลต่อปริมาณและคุณภาพของผลผลิตที่ยากจะควบคุมได้ เกษตรกรยุคใหม่จึงต้องการตัวช่วยที่จะทำให้สามารถสร้างผลผลิตได้เพียงพอและมีคุณภาพอย่างที่ผู้บริโภคยุคนี้ต้องการได้
กลยุทธ์ที่โรงแรมต่างๆ งัดมาใช้ในช่วงนี้มากที่สุด ก็คือกลยุทธ์ด้านราคา ที่หลายๆ แบรนด์พาเหรดกันกระหน่ำให้ส่วนลดกันอย่างไม่เคยมีมาก่อน ในมุมแขกผู้เข้าพักอาจเป็นเรื่องดี แต่ทว่าในมุมของผู้ประกอบการโดยเฉพาะรายเล็กนี่คือโจทย์ใหญ่ที่ต้องรับมือ
Mini Rice Cracker เป็นแบรนด์ SME ที่ส่งออกไปยัง 7 ประเทศได้ภายในระยะเวลาเพียงครึ่งปี วางขายในซูเปอร์มาร์เก็ตชั้นนำเคียงข้างแบรนด์ระดับโลก และสร้างรายได้สูงถึงเดือนละหลักล้านบาท