ต้องยอมรับว่าผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไทยในปัจจุบันสามารถพัฒนา “บรรจุภัณฑ์” หรือ “แพ็กเกจจิ้ง” ให้น่าสนใจได้ไม่แพ้แบรนด์ใหญ่ๆ ในตลาด
ใครจะคาคคิดว่าหนึ่งในสินค้าเป็นซิกเนเจอร์ของประเทศไทยและเป็นสินค้าที่กำลังเติบโตในโลกออนไลน์ขายดีบน ทีมอลล์ โกลบอล (Tmall Global) แพลตฟอร์ม B2C ของอาลีบาบา คือ หมอนและที่นอนยางพารา
ด้วยสังคมโลกการสื่อสารที่เติบโตขึ้น ทำให้ทุกวันนี้เราสามารถทำความรู้จัก พูดคุย และแชร์ประสบการณ์กับผู้คนได้มากมาย ทั้งเรื่องราวที่สนใจ หรือสิ่งที่ชอบ จนเกิดเป็นกลุ่มก้อนชุมชนเล็กๆ ขึ้นมาที่เรียกว่า
ทำธุรกิจใครก็อยากเติบโต แต่จะโตแบบไหนนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เหมือนกับ เจ้าของร้านอาหารตำมั่ว ที่เปิดเผยว่าการขยายกิจการสู่ผู้ผลิตเจ้าของแบรนด์น้ำปลาร้าตำมั่ว นั้นส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตโควิดทำให้เขาได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนด้วยเช่นกัน
คงไม่ใช่เรื่องแปลกอีกต่อไปแล้วในโลกยุคหลังโควิด หากจะบอกว่าวันนี้คุณยังเป็นพนักงานประจำอยู่ แต่กลับไม่ต้องนั่งทำงานอยู่ออฟฟิศ หรือไม่จำเป็นต้องเข้าทำงาน 5 - 6 วันต่อสัปดาห์อีกต่อไป
ถึงแม้ว่ากระแสชานมไข่มุกในปัจจุบันจะเบาลงและได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 ไปบ้าง แต่ธุรกิจชานมไข่มุกรายใหญ่ๆ ก็ยังคงเติบโตกันอย่างต่อเนื่อง
เรียกว่ากลายเป็นเมนูทอล์คออฟเดอะทาวน์ไปแล้ว สำหรับ “ข้าวเหนียวมะม่วง”ที่ตอนนี้ไม่ว่าหน้าฟีดเฟซบุ๊ก หรือโซเชียลมีเดียไหนๆ ก็มีให้เห็นอยู่เต็มไปหมด ซึ่งไม่ใช่เฉพาะจากกระแสของ "มิลลิ" แร็ปเปอร์สาวไทยที่กินข้าวเหนียวมะม่วงโชว์บนเวทีคอนเสิร์ต Coachella 2022 เท่านั้น
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ หรือ FAO คาดการณ์ว่าในปี 2593 หรืออีกราวไม่ถึงสามสิบปีข้างหน้าจะมีประชากรทั่วโลกเพิ่มสูงเป็น 9,000 ล้านคน ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะขาดแคลนอาหารได้
สังคมผู้สูงวัยถือเป็นอีกหนึ่งเมกะเทรนด์โลก ในศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้จากแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นของประชากรสูงวัยทั้งในระดับโลกและระดับประเทศ โดยองค์การอนามัยโลก คาดการณ์ว่าในปี 2573 จะมีประชากรสูงอายุมากถึงประมาณ 1.4 พันล้านคน และจะเพิ่มเป็น 2 พันล้านคนในปี 2593
สำหรับประเทศไทยนั้นแม้รัสเซียอาจไม่ได้เป็นคู่ค้าหลักของเราแต่ในส่วนของการโรงแรมและการท่องเที่ยวนักท่องเที่ยวรัสเซียถือเป็นอีกหนึ่งตลาดที่ได้รับการคาดหมายว่าจะเป็นกลุ่มที่เข้ามาพลิกฟื้นอุตสาหกรรมการโรงแรมและการท่องเที่ยวของไทย
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
อย่าลบคอมเมนต์ลูกค้า! เด็ดขาด นี่อาจเป็นกฎเหล็กของการทำธุรกิจยุคโซเชียลเลยก็ว่าได้ โดยเฉพาะคอมเมนต์ในแง่ลบที่ผู้บริโภค