วันนี้ถ้าบอกว่ามีคนไลฟ์ขายเสื้อผ้าได้วันละเป็นพันตัวคงเป็นเรื่องปกติ แต่ถ้าย้อนไปเมื่อ 4 ปีก่อน ในยุคที่เฟซบุ๊กเพิ่งเริ่มมีฟังก์ชันไลฟ์ (Live) ร้านขายผ้าไทยในเมืองน่านที่ชื่อ “น่านบุรี” เคยไลฟ์ขายผ้าแฮนด์เมดได้ถึงวันละกว่า 600 ตัว
จากการต้องเตรียมตัวเป็นคุณแม่ของ วรพร มุสิกบุตร (โจ) และวรฤดี มุสิกบุตร (โจ้) สองพี่น้องฝาแฝดที่บังเอิญตั้งครรภ์พร้อมๆ กัน จนเกิดเป็นนวัตกรรมเบาะนอนสำหรับทารกเพื่อช่วยป้องกันและลดความเสี่ยงการเกิดโรคไหลตายเด็กได้เป็นเจ้าแรกและเจ้าเดียวในไทย
“Deeco” (ดีโค่) รองเท้ายางพาราสำหรับโค นวัตกรรมเกษตรคูลๆ ออกแบบแม่พิมพ์ให้สอดคล้องตามหลักสรีระของกีบเท้าโค และสูตรยางรองเท้าอีกด้วย ว่าแต่ทำไมโคต้องใส่รองเท้ากันล่ะ?
ทายาทธุรกิจเครื่องกรองน้ำที่เคยโด่งดังในอดีต ทว่าด้วยพิษวิกฤตเศรษฐกิจปี 40 ทุกอย่างกลับพังครืนลง สาขาถูกปิด ธุรกิจกลายเป็นหนี้ ต้องตัดสินใจพลิกมาทำผ้าม่าน แต่ถูกเสนอเงินเดือนให้แค่ 5 พันบาท เขากัดฟันสู้จนได้ธุรกิจร้อยล้านในวันนี้
“อรรถ - อรรถพล ไชยจักร” อดีตวิศวกรสื่อสารที่ผันมาเอาดีกับอาชีพเกษตร เขาสร้าง “Farm Behind the Barn” (ฟาร์มบีไฮด์เดอะบาร์น) หรือ “ไร่หลังฉาง” เปลี่ยนไร่เผือก ไร่มันสัมปะหลังให้กลายเป็นเกษตรผสมผสาน จนรู้สึกได้ถึงความสุขของการได้พึ่งพาตนเอง
ผู้หญิงคนหนึ่งเดินหิ้วโครงไม้ลามิเนตไปบุกบริษัทอสังหาริมทรัพย์ชื่อดังอย่าง “แสนสิริ” เพื่อนำเสนอขายสินค้า โดยที่บริษัทพึ่งตั้ง ประสบการณ์ทำงานเท่ากับศูนย์ และมีสินค้าทั้งบริษัทแค่ 1 ตัวเท่านั้นก็คือ “พื้นไม้ลามิเนต” แต่เธอขายงานได้!
ในโลกยุคดิจิทัลที่มีผู้คนพลุกพล่านอยู่มากมาย การจะดึงดูดความสนใจของลูกค้าสักคนหนึ่งให้หันมามองสินค้าหรือแบรนด์ไม่ใช่เรื่องง่าย หนึ่งในวิธีที่โดดเด่นมีประสิทธิภาพที่เข้าตาผู้บริโภคยุคนี้ ก็คือ การทำตลาดผ่านวิดีโอ
“บ้านไร่ ไออรุณ” ฟาร์มสเตย์ชื่อดังในพื้นที่อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง ปรับตัวสู้โควิดรอบ 2 ด้วยการเปลี่ยนรถสองแถวไม้รับส่งนักท่องเที่ยว แปลงร่างมาเป็นรถพุ่มพวงสุดคลาสสิกขายผัก ผลไม้ สดๆ ปลอดสารพิษจากไร่ออกมาสู้วิกฤตกัน
ปีนี้เป็นปีแห่งความทุกข์ยากสำหรับคนทำธุรกิจ หลังจากที่เศรษฐกิจชะลอตัวต่อเนื่องกันมาหลายปี พอมาเจอกับวิกฤตโควิด-19 ซ้ำเติม เป็นตัวเร่งทำให้หลายบริษัทกระทบหนักจนถึงขั้นไปต่อไม่ไหว แม้จะมีคนมองในแง่ดีบอกเอาไว้ว่า “ในวิกฤตย่อมมีโอกาส” แต่ประตูแห่งโอกาสกลับไม่ได้เปิดให้..
เกษตรกรรุ่นเก่า อาจทำเกษตรโดยใช้สัญชาตญาณ แต่กับ Young Smart Farmer พวกเขาใช้เทคโนโลยีมาเป็นเครื่องมือเพิ่มความแม่นยำในการทำเกษตร ช่วยลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อัพแวลู่ให้กับสินค้าเกษตรไทยจนส่งออกต่างประเทศได้ฉลุย
ผู้ประกอบการในวัยเกือบ 50 ปี แถมยังอยู่ในอุตสาหกรรมผลิตมากว่า 2 ทศวรรษ แต่ทำไมวันหนึ่งถึงลุกมาทำเรื่องใหม่ๆ อย่าง การตลาดดิจิทัล ผู้ผลิตแอนิเมชัน กระทั่งนวัตกรรมฟาร์มผัก AI ฯลฯ กับเขาได้
“เบนซ์-ศรัณย์ เกียรติเทพขจร” เจ้าของช่อง DBigbike ทายาทรุ่น 2 ของ “ดีเจริญยนต์” ธุรกิจที่เริ่มจากซื้อ-ขายรถยนต์และจักรยานยนต์มือสอง จนวันนี้กลายเป็นอาณาจักรของคนรักบิ๊กไบค์ที่ประสบความสำเร็จทั้งในโลกออนไลน์และออฟไลน์