เอปสัน ประเทศไทย บริษัทฯ ได้ขยายขอบเขตของงานซีเอสอาร์มาด้าน Life on Land จัดกิจกรรม Wheel for Wild เพื่อรณรงค์ให้คนไทยตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันรักษาทรัพยากรและใส่ใจในเรื่องการใช้พลังงานมากขึ้น
การทำท่องเที่ยวชุมชนในวันนี้แตกต่างไปจากยุคก่อน เพราะเราอยู่ในโลกที่มีเทคโนโลยี และเครื่องมือเครื่องไม้มากมายให้หยิบจับมาใช้ แม้ชุมชนจะทำเรื่องพวกนี้เองไม่ได้ แต่ก็มีผู้ประกอบการและผู้เชี่ยวชาญที่พร้อมจับมือกับแหล่งท่องเที่ยวชุมชน พลิกโฉมการท่องเที่ยวด้วยนวัตกรรม
คนทำธุรกิจรุ่นก่อนอาจมีกำไรและยอดขายเป็นเป้าหมายสูงสุด แต่สำหรับคนรุ่นใหม่พวกเขามองหาความสุขและความหมายของชีวิตมากกว่า เหมือนกับ “วันนิวัติ ดวงพัตรา” เจ้าของ "GREENIQUE" ผลิตภัณฑ์เครื่องหอมสมุนไพรเพื่อสุขภาพและผิวกาย จ.เพชรบูรณ์
การจะทำธุรกิจอะไรก็แล้วแต่ ขอเพียงรู้จักตนเอง รู้ในสิ่งที่ต้องการ รู้ในเส้นทางที่อยากจะไป รวมถึงรู้ในวิธีกระบวนที่จะลงมือทำ แค่นี้ธุรกิจก็สามารถเติบโตได้อย่างมั่นคงแล้ว เหมือนเช่นกับ “แดดดี กรีนฟาร์ม” ธุรกิจฟาร์มผึ้งขนาดเล็กในอำเภอสวนผึ้ง จ.ราชบุรี
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า มูลค่าตลาดแพ็กเกจจิ้งอาหารรักษ์โลกปี 2563 เติบโตเฉลี่ย 25 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็นมูลค่า 2,100-2,400 ล้านบาท และใน 5 ปีข้างหน้าคาดว่าจะเติบโตไปแตะ 13,000-16,000 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดประมาณ 8-10 เปอร์เซ็นต์
“บ้านไร่ปอนด์หวาน” หนึ่งในจุดหมายของเหล่าคนรักธรรมชาติที่ท่องเที่ยวในเส้นทางจังหวัดนครนานายก ที่ปรับพื้นที่จากสวนผลไม้นานาชนิด ให้กลายเป็นที่พักและจุดกางเต็นท์สุดชิกที่เงียบสงบ เอาใจสาย Green Lovers ทั้งหลาย
เขาว่าความสวยรอไม่ได้ แม้ในวิกฤตไวรัสแต่ใครล่ะจะอยากหยุดสวย ธุรกิจความงามเลยยังคงอยู่รอดและไปต่อได้แม้ในสถานการณ์โควิด-19
การระบาดของโควิด-19 อาจทำให้กำลังซื้อของคนชั้นล่างและชั้นกลางลดลง คนสองกลุ่มนี้ชะลอหรือลดปริมาณการซื้อ ตลอดจนการลงทุนในเกือบทุกด้าน แต่ทว่า “กลุ่มเศรษฐีจีน” ยังมีกำลังซื้อสูงเช่นเดิม และมีแนวโน้มที่จะช้อปปิ้งหนักขึ้นด้วยซ้ำ
ไทยพาณิชย์ จัดสินเชื่อเพื่อธุรกิจรักษ์โลก หนุน SME ลดค่าใช้จ่ายและต้นทุนจากการบริหารจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมมีส่วนร่วมบรรเทาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืนในเศรษฐกิจยุคปัจจุบัน
สถานการณ์โควิด-19 ทำให้ภาคธุรกิจเผชิญกับความยากลำบาก โดยเฉพาะธุรกิจท่องเที่ยวและโรงแรม และอาจจะต้องใช้เวลาอีกพักใหญ่กว่าจะกลับเข้าสู่สถานการณ์ปกติได้ ดังนั้นหลายองค์กรจึงต้องรัดเข็มขัด ลดต้นทุน เพื่อประคองให้ผ่านช่วงเวลานี้ไปได้
“LastObject” คือบริษัทที่เคยออกแบบสำลีก้านที่สามารถใช้ซ้ำได้มาก่อน ผุดไอเดียผลิตทิชชูเช็ดหน้าแบบใช้ซ้ำขึ้นมาเพิ่มเติม ในชื่อ “LastTissue” โดยการใช้กระดาษทิชชูดังกล่าว 1 กล่อง ช่วยลดการใช้ทิชชูแบบปกติทั่วไปที่ใช้แล้วทิ้งได้มากถึง 2,800 แผ่นทีเดียว!
นี่คือสินค้าโอทอปแฮนด์เมด ตุ๊กตาผ้าน่ารักน่าชัง มีชื่อเรียก มีเรื่องเล่า มีความใส่ใจรายละเอียดในทุกขั้นตอนของการทำ แต่ที่ว้าว! ไปกว่านั้นคือ มีการฝัง IoT เปลี่ยนตุ๊กตุ่นธรรมดาๆ ให้กลายเป็นตุ๊กตาพูดได้ ผู้ช่วยคลายเหงาของผู้สูงวัย