นับตั้งแต่ปลายปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นเวลากว่าสองปีครึ่ง ที่ประเทศไทยได้เรียนรู้และอยู่กับการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเนื่องมาสองปีกว่า ทำให้พฤติกรรมของผู้บริโภค แนวโน้มธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป แน่นอนว่ารูปแบบการทำธุรกิจเองก็ต้องเปลี่ยนไปเช่นเดียวกัน
เชื่อว่าธุรกิจที่ใช้เพจ Facebook กำลังเผชิญกับปัญหาเหล่านี้ เมื่อ Facebook เริ่มปรับอัลกอริทึมใหม่ ทำให้ยอดชมผู้ชมลดน้อยลง เนื่องจากปัจจัยหลายๆ อย่างเช่น ธุรกิจเริ่มโฆษณาบน Facebook มากขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มไม่เห็นคอนเทนต์ที่เราโพสต์
ในยุคที่ใครๆ สามารถทำคอนเทนต์ของตัวเองลงแพลตฟอร์มได้อย่างเสรี แต่ไม่ใช่ใครๆ ก็ได้ ที่จะประสบความสำเร็จ หากไม่มีเนื้อหาที่แตกต่างหรือโดดเด่นจริง ในจำนวนยูทูบเบอร์สายอาหารทั้งหมด ผมเชื่อว่า “จี้เพ็ก” ต้องเข้าข่ายเป็นอินฟลูเอนเซอร์รุ่นย่าวัย 77 ปี ที่หลายคนรู้จัก
หลังจากราคาแก๊สหุงต้มพุ่งขึ้นไม่หยุด ล่าสุดมีการปรับขึ้นราคาก๊าซหุงต้ม อัตรา 1 บาทต่อกิโลกรัม เป็น 408 บาทต่อถัง ทาง เฟซบุ๊ก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ได้นำเสนอ ใช้เตามหาเศรษฐีจะสามารถประหยัดไม้ ฟืนและถ่านที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ถึง 500-600 บาท/ครัวเรือน/ปี และช่วยลดการใช้แก๊ส LPG ในครัวเรือน กลายเป็นประเด็นร้อนในโลกออนไลน์
“ของก็แพง ยอดขายก็ตก ทำยังไงกันดีล่ะทีนี้” คงเป็นปัญหาปวดใจให้ผู้ประกอบการหลายคนที่กำลังทำธุรกิจอยู่ในขณะนี้ โดยเฉพาะธุรกิจร้านอาหารที่ได้รับผลกระทบต่อเนื่องยาวนานมากว่า 2 ปี
สานต่อธุรกิจยังไงให้ที่บ้านไว้ใจ อ่านแนวคิดทายาท ร้านอาหารสุขทวี จ.นครศรีฯ ใช้เวลา 5 ปีพิสูจน์ตัวเอง
การเป็นลูกจ้างออฟฟิศโดยทั่วไปใช้เวลาประมาณ 3 เดือนเพื่อพิสูจน์ตัวเองให้นายจ้างยอมรับว่าจะผ่านงานหรือไม่ ในทางตรงกันข้ามถ้าเป็นทายาทที่ต้องการสานต่อธุรกิจกลับไม่มีทฤษฏีหรือมาตรฐานไหนรองรับว่าจะต้องใช้เวลานานแค่ไหน บางคนอาจใช้เวลาเป็นเดือน หรือบางคนต้องใช้เวลาเป็นปีๆ
ทำธุรกิจใครก็อยากเติบโต แต่จะโตแบบไหนนั้นขึ้นอยู่กับหลายๆ ปัจจัย เหมือนกับ เจ้าของร้านอาหารตำมั่ว ที่เปิดเผยว่าการขยายกิจการสู่ผู้ผลิตเจ้าของแบรนด์น้ำปลาร้าตำมั่ว นั้นส่วนหนึ่งมาจากวิกฤตโควิดทำให้เขาได้เรียนรู้ในสิ่งที่ไม่คาดคิดมาก่อนด้วยเช่นกัน
เพราะร่างกายของคนเรานั้นมักแตกต่างกันไป บางคนผอม บางคนอ้วน ฯลฯ ความต้องการสารอาหารของแต่ละคนจึงไม่เท่ากัน ในเมื่อผู้บริโภคยุคใหม่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้น ทำให้การพัฒนาอาหารในรูปแบบ One size fits all อาจไม่ตอบโจทย์พฤติกรรมผู้บริโภคได้ดั่งเก่า จึงเกิดแนวคิด Tailored to FIT นำไปสู่การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพที่เรียกว่า Personalized Food ที่คาดว่าจะสร้างแรงกระเพื่อมใหม่ในโลกอาหารเพื่อสุขภาพ และเป็นโอกาสของผู้ประกอบการอาหารที่จะขยายฐานกลุ่มลูกค้า
แม้จะมีการผ่อนปรนให้ผู้คนกลับมานั่งทานอาหารได้แล้ว แต่แนวโน้มธุรกิจร้านอาหารปี 2565 ยังเป็นปีที่ต้องระมัดระวัง เนื่องจากยังมีปัจจัยเสี่ยงของการระบาดของโควิด-19 สายพันธุ์ Omicron และสายพันธุ์อื่นที่อาจเกิดขึ้นได้
ชัยวิวัฒน์ อ่อนอนันต์ ค้นพบวิธีเปิดร้านอาหารเล็กๆ ให้ประสบความสำเร็จได้จากตัวเองแม้อยู่ในทำเลไม่ดี แต่ก็มีลูกค้าแวะเวียนมาชิมไม่ขาดสายตั้งแต่วันแรกที่เปิดร้านจนกระทั่งเจอกับวิกฤตโควิดทางร้านก็ยังไม่เคยประสบภาวะขาดทุน
"โชนัน" ร้านข้าวหน้าเนื้อสไตล์ญี่ปุ่นที่เดิมเปิดให้บริการอยู่ในศูนย์การค้าเกือบ 100 % แต่เมื่อเจอวิกฤตโควิด-19 ทำให้ต้องปรับตัวออกผลิตภัณฑ์มากมาย ล่าสุดได้เปิดตัวแบรนด์ตู้ขายอาหารอัตโนมัติของตัวเองขึ้นมาในชื่อ “ตู้กับข้าว Cloud Kitchen”
กลยุทธ์ต้องรอด ฉบับยักษ์ใหญ่แฟรนไชส์ธุรกิจอาหารอย่าง “เดอะ ไมเนอร์ ฟู้ด กรุ๊ป” ผู้ให้บริการด้านอาหารและฟาสต์ฟู้ดรายใหญ่ของประเทศ ในวิกฤตโควิด-19 พวกเขาใช้กลยุทธ์ไหนเพื่อไปต่อ