หนึ่งในปัจจัยเสี่ยงของผู้ประกอบการที่นำเข้าและส่งออกก็คือเรื่องของอัตราแลกเปลี่ยนที่มีความผันผวนสูง เพื่อที่จะเสริมเครื่องมือให้กับผู้ประกอบธุรกิจ ธนาคารแห่งประเทศไทยจึงได้ผ่อนคลายเกณฑ์การทำธุรกรรมเงินตราต่างประเทศ ภายใต้แผนผลักดันระบบนิเวศของตลาดอัตราแลกเปลี่ยน (FX ecosystem) ทั้งการนำเงินออกนอกประเทศและการชำระเงินระหว่างประเทศ
แม้ว่าสถานการณ์โควิด-19 ทำให้หลายธุรกิจต้องรับผลกระทบอย่างมหาศาล บางธุรกิจปิดกิจการไปก็มี แต่ก็มีธุรกิจได้โอกาสในการเติบโตจากสถานการณ์นี้ ซึ่งส่วนหนึ่งมากจากการเปลี่ยนแปลงจากดิจิทัล
การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมไม่ได้เป็นเพียงคำพูดติดปากอีกต่อไปแล้ว มันได้กลายเป็นส่วนสำคัญของการทำธุรกิจมากขึ้นเรื่อยๆ
นับตั้งแต่ปลายปี 2562 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นเวลากว่าสองปีครึ่ง ที่ประเทศไทยได้เรียนรู้และอยู่กับการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อเนื่องมาสองปีกว่า ทำให้พฤติกรรมของผู้บริโภค แนวโน้มธุรกิจเปลี่ยนแปลงไป แน่นอนว่ารูปแบบการทำธุรกิจเองก็ต้องเปลี่ยนไปเช่นเดียวกัน
หนึ่งในวิธีที่จะทำให้ธุรกิจเติบโตคือการส่งออก แต่รู้ไหมว่าในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ประกอบการ SME ในระบบประมาณ 3.1 ล้านราย กลับเป็นผู้ส่งออกไม่ถึง 1% หรือประมาณ 3 หมื่นรายเท่านั้น
จะทำอย่างไรให้เอาชนะใจลูกค้าได้ เชื่อว่าทุกธุรกิจต้องเคยเจอปัญหานี้ แต่บางครั้งอาจจะคิดวิธีแก้ไขปัญหาไม่ออก ตัน หาทางออกไม่เจอ อย่าเพิ่งท้อไป วันนี้เราจะพาไปดูวิธีการทำตลาดให้ธุรกิจ win ด้วย Design Thinking Heart Head Hand
มากกว่าเก้าในสิบ หรือกว่า 98% ของกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) ในประเทศไทย กำลังเผชิญกับความผันผวนของกำลังคน อันเกิดจากปรากฏการณ์การลาออกครั้งใหญ่
ดวงของคนจะรวยบางทีไม่เกี่ยวกับโชค แต่มาจากการมองเห็นช่องว่างในตลาด วันนี้มีเรื่องเล่าจากอังกฤษของคู่สามีภรรยาที่ยอมเลื่อนพิธีแต่งงานถึง 2 ครั้งเพื่อนำเงินที่จะใช้จัดงานไปปลุกปั้นธุรกิจ
การ์ทเนอร์ บริษัทวิจัยและให้คำปรึกษาชั้นนำของโลก เปิดผลสำรวจล่าสุดของซีอีโอและผู้บริหารระดับสูง “Gartner 2022 CEO and Senior Business Executive Survey”
ไม่ว่าจะเป็น Elon Musk, Jeff Bezos, Steve Jobs หรือแม้แต่ผู้นำระดับโลกที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความอัจฉริยะอยู่ในตัว แต่พวกเขาล้วนตระหนักดีว่าความสำเร็จในธุรกิจจะเกิดขึ้นได้ขึ้นอยู่กับการสร้างทีมงานที่จะมาช่วยทำหน้าที่สร้างความเปลี่ยนแปลงในองค์กร
จุดเริ่มต้นในการทำธุรกิจของบรรดา mompreneur หรือคุณแม่ผู้ประกอบการทั้งหลายมักเกิดจากการหาทางออกให้กับปัญหาที่เผชิญ
เมื่อพูดถึงการซื้อซ้ำ ทฤษฎี Marketing มักจะพุ่งเป้าไปที่การรักษาฐาน “ลูกค้าเก่า” ให้ได้มากที่สุด เพราะงบประมาณการตลาดที่ทุ่มให้กับการหาลูกค้าใหม่ มีตัวเลขที่สูงกว่า การรักษาลูกค้าเก่าให้เกิดการซื้อซ้ำ