การทำธุรกิจโรงแรมที่พัก ย่อมต้องได้รับข้อมูลส่วนบุคคลมากมาย ทั้งจากแขกผู้เข้าพัก รวมถึงพนักงานโรงแรมด้วย ซึ่งกฏหมายเองได้ออกพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2562 ขึ้นมา สิ่งเหล่านี้เป็นอีกสิ่งจำเป็นที่ผู้ประกอบการต้องรู้ไว้
พฤติกรรมผู้บริโภคคนไทย หลังผจญกับสถานการณ์ไวรัสโควิด-19 และเริ่มเรียนรู้การใช้ชีวิตแบบ New Normal ตลอดหลายเดือนที่ผ่านมา มีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสนใจมากมาย
ปีนี้พวกเราผ่านจุดคุ้มทุนของการใช้ทรัพยากรโลกไปแล้ว และอยู่ระหว่างการ “กู้” ทรัพยากรคนรุ่นหลังมาใช้ และหากธุรกิจยังคงใช้ทรัพยากรอย่างไม่คิด หรือร่วมรับผิดชอบต่อโลกและสิ่งแวดล้อมให้มากกว่านี้ โลกของเราจะเจ๊ง! ในอีก 80 ปีข้างหน้า
หลังโควิด -19 หลายอย่างถูกเปลี่ยนแปลงไปด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค ที่เริ่มมีความคุ้นชินกับการใช้ชีวิตที่เว้นระยะห่างทางสังคม และใส่ใจกับสุขอนามัยของตนเองมากขึ้น ธุรกิจโรงแรมอีกอุตสาหกรรมหลัก จึงไม่สามารถหลีกเลี่ยงการถูกดิสรัปต์จาก New Normal ได้
หลงใหลในตัวเลข ชื่นชอบคณิตศาสตร์ สนใจด้านการตลาด และชอบคิดอะไรต่างจากคนอื่น คือสิ่งที่นำพาให้ “อริสา กุลปิยะวาจา” ผู้ก่อตั้งแบรนด์ 137 ดีกรี ตัดสินใจไปศึกษาต่อด้าน Data Analytics และได้นำวิธีคิดแบบ Data Scientist มาใช้ในการดำเนินธุรกิจวันนี้
“Customer Journey” หรือ การเดินทางของลูกค้าตั้งแต่ขั้นตอนของการรับรู้ใน Brand ไปจนถึงการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการ คำนี้สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจโรงแรมใหม่อีกครั้ง หลังจากที่ต้องหยุดกิจการไปในช่วงโควิด-19
ความนิยมของร้านอาหารเสมือนจริง (Virtual Restaurant) หรือร้านที่ไม่ต้องมีหน้าร้านหรือโต๊ะสำหรับคนเข้ามานั่งรับประทานในร้านกำลังเพิ่มมากขึ้น สิ่งที่จำเป็นมีแค่พื้นที่ห้องครัวและแอปพลิเคชันส่งอาหาร
ไม่มีอะไรเหมือนเดิมหลังธุรกิจต้องเผชิญหน้ากับไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบในวงกว้างต่อทั้งธุรกิจขนาดเล็ก กิจการขนาดใหญ่ หลากหลายอุตสาหกรรม กดดันให้ผู้ประกอบการต้องปรับตัวรับมืออย่างทันท่วงที มีแผนกลยุทธ์ที่สอดรับกับแต่ละช่วงสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ไวรัสโควิด-19 เข้ามาเปลี่ยนแปลงอะไรหลายอย่างไปจากเดิม เปลี่ยนสิ่งปกติในอดีตให้เป็นวิถีปกติใหม่หรือที่ เรียกว่า New Normal ในหลายๆ อุตสาหกรรม แม้แต่ในโลกของอุตสาหกรรมไมซ์ หรืออีเวนต์
“Above the Ocean Strategy (AOS)” หรือ “กลยุทธ์เหนือน่านน้ำ” คือตัวช่วยอธิบายการเปลี่ยนแปลงของโลกธุรกิจ ช่วยให้ธุรกิจเห็นภาพได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้นว่า หลังจาก COVID-19 พวกเขาต้องปรับเปลี่ยนตัวเองอย่างไร เพื่อก้าวสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
โควิด-19 ทำให้ธุรกิจขนส่งและเดลิเวอรีกลับมาคึกคัก ทั้งยังเติบโตได้กว่า 100 เปอร์เซ็นต์ ทว่าเมื่อมองภาพรวมของธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์กลับได้รับผลกระทบอย่างหนัก โดยเฉพาะกับผู้ประกอบการรายย่อยอย่าง SME
โลกการทำธุรกิจจะเปลี่ยนหน้าตาไปจากเดิม หลังวิกฤตไวรัสโควิด-19 ผ่านพ้น สิ่งสำคัญไม่ใช่แค่การอยู่รอดให้ได้ในวิกฤต แต่ชีวิตหลังวิกฤตนั้นผู้ประกอบการจะต้องทำยังไง นี่คือโจทย์ที่ท้าทายยิ่งกว่า