รู้ไหมว่าในปี 2564 นี้ ตลาดไหนที่ยังพอเติบโตได้แม้จะไม่ได้หวือหวาเหมือนยุคก่อนหน้านี้ หนึ่งในนั้นคือ “ตลาดเครื่องดื่มที่ไม่มีแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะสินค้าเครื่องดื่มเฉพาะกลุ่ม และเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
กินเจปีนี้อาจไม่ได้คึกคักเหมือนทุกปี ผู้ประกอบการอาหารเจที่กำลังรอคอยโอกาสและความหวัง จำเป็นที่จะต้องปรับตัวเปลี่ยนกลยุทธ์ เพื่อรับกับพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป ในยุคที่วิกฤตโควิด-19 ยังกดดันการใช้ชีวิตของผู้คน และส่งผลกระทบถึงการกินเจที่ลดลงในปีนี้ด้วย
นับเป็นปีแห่งความท้าทายที่มีเรื่องให้ตื่นเต้นทุกไตรมาส ล่าสุดสองสำนักวิจัยออกมารายงานตัวเลขหนี้ครัวเรือนและอัตราการว่างงานไตรมาสที่ 2 ปี ุ63 ก็พุ่งสูงทำลายสถิติในรอบหลายสิบปี ซึ่งล้วนเป็นผลพวงจากวิกฤตโควิด-19 ที่เกิดขึ้นมาหลายเดือนแล้ว
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า มูลค่าตลาดแพ็กเกจจิ้งอาหารรักษ์โลกปี 2563 เติบโตเฉลี่ย 25 เปอร์เซ็นต์ คิดเป็นมูลค่า 2,100-2,400 ล้านบาท และใน 5 ปีข้างหน้าคาดว่าจะเติบโตไปแตะ 13,000-16,000 ล้านบาท มีส่วนแบ่งตลาดประมาณ 8-10 เปอร์เซ็นต์
หลังจากการระบาดของโควิด-19 ที่คนออกจากบ้านไปช้อป ชิม ท่องเที่ยว หรือกระทั่งทำงานนอกบ้านไม่ได้ เราจึงต้องทำทุกอย่างผ่าน “หน้าจอ” ธุรกิจต่างๆ หันมานำเสนอประสบการณ์ “เสมือนจริง” (Virtual Reality) ให้กับคนที่ต้องติดอยู่ที่บ้าน
วันนี้ภาคการเกษตรต้องเจอกับข้อจำกัดต่างๆ มากมาย ซึ่งล้วนส่งผลต่อปริมาณและคุณภาพของผลผลิตที่ยากจะควบคุมได้ เกษตรกรยุคใหม่จึงต้องการตัวช่วยที่จะทำให้สามารถสร้างผลผลิตได้เพียงพอและมีคุณภาพอย่างที่ผู้บริโภคยุคนี้ต้องการได้
ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวแบบ U-Shaped ปรับจีดีพีปีนี้หดตัว 10 เปอร์เซ็นต์ โดยธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม เครื่องใช้ไฟฟ้า โรงแรมและภัตตาคาร ยังเป็นธุรกิจที่เข้าข่ายเปราะบาง และน่าเป็นห่วงมากที่สุด
จากวิกฤติการระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่ผ่านมา ธุรกิจการสั่งอาหารออนไลน์ ผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ กลายเป็นช่องทางสำคัญของผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารและผู้บริโภค โดยพบว่ามีจำนวนร้านอาหารขนาดเล็ก-กลาง สมัครเข้าร่วมกับแพลตฟอร์มจัดส่งอาหาร ไม่น้อยกว่า 20,000 รายต่อสัปดาห์ทีเดียว
ภายในกันยายน – ตุลาคม 2563 จะเป็นช่วงรอยต่อสำคัญสำหรับ SME เนื่องจากมาตรการพักชำระหนี้จะสิ้นสุดลง ซึ่งด้วยสถานการณ์เศรษฐกิจยังคงมีความไม่แน่นอนสูง จึงอาจมีความจำเป็นที่ต้องพิจารณาต่ออายุโครงการ และการออกมาตรการใหม่เพื่อช่วย SME
ในช่วง 4 เดือนแรกของปี 2563 ท่ามกลางวิกฤตไวรัสโควิด-19 การค้าชายแดนและผ่านแดนไทยมีมูลค่า 209,231 ล้านบาท หดตัวร้อยละ 10.6 (YoY) โดยการส่งออกอาหารสด ผักและผลไม้หดตัวสูงร้อยละ 38.1 (YoY) เนื่องจากอ่อนไหวด้านระยะเวลาขนส่งอย่างมาก ขณะที่อาหารแปรรูปยังขยายตัวที่ร้อยละ 2.0 (YoY)
ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เดินหน้ามาตรการช่วยเหลือลูกหนี้รายย่อยระยะที่ 2 เพื่อดูแลลูกค้ารายย่อยที่ต้องดำเนินการต่อเนื่องจากมาตรการระยะแรกที่กำลังจะทยอยสิ้นสุดลง
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภคที่มีแนวโน้มซื้อสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับวิถีชีวิต New Normal เป็นปัจจัยให้บริการขนส่งสินค้าแบบ Last-mile Delivery รวมถึงธุรกิจบรรจุภัณฑ์สำหรับการขนส่งถึงมือผู้บริโภคขยายตัวตามไปด้วย