โควิด-19 ได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงชีวิตเรา สิ่งสำคัญที่ผู้ประกอบการธุรกิจต้องคิดต่อจากนี้ คือ เมื่อผ่านพ้นจากเหตุการณ์นี้ไปแล้ว พฤติกรรมใดของผู้บริโภคที่จะยังคงอยู่ และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางธุรกิจได้ ลองมาฟัง ธนพล ทรัพย์สมบูรณ์
เหตุผลหนึ่งที่ทำให้คนหนุ่มใช้เครื่องประทินผิวและแต่งแต้มสีสันบนใบหน้ามากขึ้นมาจากกระแส Gender fluid –การเลื่อนไหลของเพศสภาพหรือการแสดงออกทางเพศที่เปลี่ยนแปลงไปมาระหว่างความเป็นหญิงกับความเป็นชาย
ดูเหมือนว่าช่วงวันเวลาที่ลูกค้าเคยใช้บริการโรงแรมแล้วได้กับการดูแลดุจนายกับบ่าวมีแนวโน้มสิ้นสุดลง และลูกค้าที่เข้าพักโรงแรมอาจต้องบริการตัวเองมากขึ้น
เมื่อการค้าขายเปลี่ยนไป แค่เวลาเพียงไม่กี่นาทีก็มีเศรษฐีเกิดใหม่มากมาย แสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมผู้บริโภคและพลังของโลกออนไลน์จะช่วยให้คุณทำเงินจำนวนมหาศาลได้ในพริบตาถ้าคุณรู้จักการสร้างโอกาส
ที่จริงแล้ว 77% ของการโจมตีทางไซเบอร์ทั้งหมดที่เกิดขึ้นบนโลกใช้ประโยชน์จากระบบอัตโนมัติหรือ Bot กรณีที่ไทยก็เกิดจากบอทเช่นกัน เพื่อให้ลูกค้ามั่นใจว่าถ้าข้อมูลรั่วต้องไม่ได้มาจากธุรกิจเรา ผู้ประกอบการจึงต้องมีวิธีป้องกันบอทเหล่านี้
ในวันนี้ “การส่งออก” คือพระเอกที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย แต่เรากลับมี SME ที่ส่งออกได้เพียง 1% เท่านั้น ฉะนั้นหากสามารถผลักดันธุรกิจเล็กส่งออกได้มากขึ้น เศรษฐกิจไทยก็ยิ่งแข็งแกร่ง EXIM BANK จึงดัน SME ให้ส่งออกได้มากขึ้น
วิกฤตไวรัสโควิด-19 ได้เข้ามาสร้างปัญหามากมายให้กับธุรกิจ จากการสำรวจกลุ่มตัวอย่าง 1,574 สถานประกอบการ โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม (DIProm) พบว่าปัญหาหลักที่ผู้ประกอบการ SME ต้องเจอนั้นมีอยู่ 8 ข้อด้วยกัน
การช้อปปิงออนไลน์ไม่ใช่เรื่องใหม่อีกต่อไป โดยเฉพาะเมื่อเราเผชิญกับสถานการณ์โรคระบาดยิ่งทำให้อี-คอมเมิร์ซเติบโต ซึ่งวิธีที่จะเข้าสู่สนามตลาดออนไลน์ได้เร็ว ง่าย และไม่มีค่าใช้จ่าย ก็คือ ใช้โซเชียลมีเดียนี่เอง
สสว. เตรียมให้ความช่วยเหลือ SME ผ่านระบบผู้ให้บริการสนับสนุนด้านการพัฒนาธุรกิจ (Business Development Service : BDS) หรือการจ่ายคนละครึ่งภาค SME เพื่อสร้างทางเลือกให้กับ SME ในการพัฒนาธุรกิจของตนเองให้ตรงตามความต้องการมากขึ้น
การเริ่มต้นส่งออกอาจเป็นเรื่องยากสำหรับ SME แต่รู้ไหมว่ามีวิธีหนึ่งที่จะออกจากฝั่งโดยที่ไม่เสี่ยงเกินไป นั่นก็คือ การเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของซัพพลายเชนของผู้ประกอบการส่งออกรายใหญ่
ในห้วงเวลาที่ประเทศไทย ยังเผชิญหน้ากับสถานการณ์วิกฤตโควิด-19 กลายเป็นความท้าทายของผู้นำคนใหม่ของ สสว. ที่จะวางนโยบายและแนวทางในการขับเคลื่อน SME ไปในทิศทางไหน เพื่อให้ก้าวผ่านวิกฤต และมีโอกาสเติบโตอย่างยั่งยืนในอนาคต
ภายในกันยายน – ตุลาคม 2563 จะเป็นช่วงรอยต่อสำคัญสำหรับ SME เนื่องจากมาตรการพักชำระหนี้จะสิ้นสุดลง ซึ่งด้วยสถานการณ์เศรษฐกิจยังคงมีความไม่แน่นอนสูง จึงอาจมีความจำเป็นที่ต้องพิจารณาต่ออายุโครงการ และการออกมาตรการใหม่เพื่อช่วย SME