แม้คนจะใส่ใจสิ่งแวดล้อมและความยังยืนมากขึ้น แต่ในยุคเงินที่เงินเฟ้อและข้าวของแพงขึ้นพวกเขาก็ยังไม่พร้อมจ่ายเพิ่มให้กับสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแต่ต้องซื้อเป็นประจำทุกวัน
อาหารสุขภาพกำลังเป็นเทรนด์มาแรงแห่งโลกยุคใหม่ ไม่เว้นแม้แต่อาหาร Junk Food หรือ Fast Food ที่หลายคนมองว่าไม่มีประโยชน์อย่างเบอร์เกอร์
เมื่อผู้คนเริ่มเรียนรู้ที่จะทดลองใช้ชีวิตวิถีใหม่ทั้งรูปแบบที่มีข้อจำกัดและไร้ซึ่งข้อจำกัด ได้มีเวลาอยู่กับบ้านมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ คือ การทดสอบมนุษย์ให้ลองออกจากกรอบเดิมๆ ที่เคยทำ จึงไม่แปลกที่วันนี้หลายคนจะลุกขึ้นมาเลือกทางเดินชีวิตตัวเอง
ในการเติบโตทางธุรกิจนั้นมีรูปแบบที่น่าหลงใหลอยู่ นั่นก็คือ เติบโตแบบก้าวกระโดด (Exponential Growth) ด้วยกลยุทธ์ Scale Up การปรับปรุงและหรือขยายองค์กรด้วยวิธีและรูปแบบการทำงานให้สามารถมีประสิทธิผลมากว่าทรัพยากรที่ใช้ไป
โลกออนไลน์กลายเป็นทางรอดของหลายธุรกิจในยุคโควิด “Sticky” เป็นร้านลูกอมแฮนด์เมดในออสเตรเลียเป็นหนึ่งในนั้น หลังจากยอดหายหดจนเหลือ 0 ร้านก็ได้เริ่มโพสต์กระบวนวิธีการทำขนมอันน่าตื่นตาตื่นใจของร้านลงบนโซเชียลมีเดีย
หากคิดจะลดการใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติก ลองพิจารณาอะลูมิเนียมฟอยล์ดูดีไหม ความต้องการผลิตภัณฑ์รีไซเคิลและออแกนิกเป็นตัวส่งเสริมการผลิตบรรจุภัณฑ์อะลูมิเนียมในหลายภูมิภาคของโลก จากการที่มันเป็นทางเลือกบรรจุภัณฑ์แทนพลาสติกนี่ล่ะ
ธุรกิจอะไรที่เติบโตสวนพิษโควิดได้อย่างไม่กลัวไวรัส? ที่เด่นชัดก็คงจะเป็น Mango Tree : แม็งโกทรี ร้านอาหารไทยในเครือเดียวกันกับร้านสุกี้ “โคคา” ที่เติบโตได้อย่างไม่กลัวโควิดที่วัดได้จากแพลนเปิดร้านอาหารใหม่รวม 17 แห่งปีนี้ทั้งในไทยและเอเชีย
หลายคนคงนึกไม่ถึงแน่ๆ ว่าวันหนึ่ง “อายิโนะโมะโต๊ะ” แบรนด์ผงชูรสที่แสนจะคุ้นหู จะบุก “วงการไอที” ที่แสนจะห่างไกลจากธุรกิจอาหาร ด้วยการหันมาจริงจังกับการผลิตฟิล์ม ABF สำหรับใช้ในคอมพิวเตอร์
TikTok ได้นำร่องให้ผู้ค้าใน Shopify ที่มีบัญชี TikTok For Business จะสามารถเพิ่มแท็บ “Shopping” ไว้บนหน้าโพรไฟล์ TikTok ซึ่งจะเชื่อมต่อกับแคตตาล็อกสินค้าและกดสั่งซื้อได้ทันที เหมือนที่ Facebok หรือ Instagram มีในตอนนี้
กระแสชาตินิยมของจีนประทุขึ้นมาอีกระลอกช่วงเกิดวิกฤตอุทกภัยครั้งใหญ่ที่มณฑลเหอหนานช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา และ“เออร์เก้” (ERKE) ที่ล้มลุกคลุกคลานและประสบอุปสรรคในการดำเนินธุรกิจมาตลอดกลับมอบเงินบริจาคถึง 50 ล้านหยวน
การกักตัวอยู่ที่บ้านนานๆ ทำให้ประชาชนเกิดความเบื่อหน่ายจึงเปลี่ยนเฟอร์นิเจอร์หรือตกแต่งบ้านใหม่เพื่อสร้างบรรยากาศไม่ให้จำเจ IKEA จึงออกแคมเปญ Buy Back รับซื้อสินค้าใช้แล้วจากลูกค้ามาขายต่อ ที่กลายเป็นว่าแบรนด์ได้รับผลประโยชน์หลายต่อเลยทีเดียว
ธุรกิจหนึ่งที่เสียหายจากการแพร่ของไวรัสคือร้านตัดผมและร้านเสริมสวยที่โดยมากเป็นธุรกิจขนาดกลางและขนาดเล็ก เรียกง่ายๆ คือ SME นั่นเอง ไปดูสถานการณ์ที่อินเดียกันว่าเจ้าของร้านซาลอนทั้งหลายรับมืออย่างไร