ในปัจจุบันการขายของออนไลน์ให้อยู่รอดและได้กำไร เป็นเรื่องที่ไม่ได้ง่ายเลยทีเดียว บางคนขายของไม่เก่ง ไม่กล้า Live ทำให้เสียโอกาสช่องทางขายไป แต่อาจแก้ไขได้ด้วยการทำ Content นอกจากช่วยแก้ปัญหาแล้วยังสาสามารถสร้างรายได้อย่างเป็นกอบเป็นกำเหมือน Youtuber, Tiktoker ด้วย
ภาวะมนุษย์ทองคำ ศึกชิงแรงงาน ปัญหาใหญ่กำลังระบาด อาจทำให้ธุรกิจท่องเที่ยว สะดุดอีกครั้งถ้าไม่เร่งแก้
ก่อนหน้าวิกฤต COVID-19 อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวโรงแรมของไทยเปรียบเสมือนเป็นพระเอกที่ทำรายได้ดี ใครๆ ก็อยากมาลงทุน มาทำงานด้วย แต่ปัจจุบันกำลังเกิดปัญหาขาดแคลนแรงงานกลับเข้าระบบอย่างหนัก
ในยุคที่ใครๆ สามารถทำคอนเทนต์ของตัวเองลงแพลตฟอร์มได้อย่างเสรี แต่ไม่ใช่ใครๆ ก็ได้ ที่จะประสบความสำเร็จ หากไม่มีเนื้อหาที่แตกต่างหรือโดดเด่นจริง ในจำนวนยูทูบเบอร์สายอาหารทั้งหมด ผมเชื่อว่า “จี้เพ็ก” ต้องเข้าข่ายเป็นอินฟลูเอนเซอร์รุ่นย่าวัย 77 ปี ที่หลายคนรู้จัก
"เสียง" คือ องค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของการรับชมวิดีโอ แต่จะทำยังไงล่ะ! ถ้าผู้บริโภคทุกวันนี้ชอบดูวิดีโอแบบเงียบๆ ไม่เปิดเสียงกัน โดยมีงานวิจัยออกมาว่ากว่า 75 % ผู้ชมทุกวันนี้ชอบรับชมวิดีโอแบบปิดเสียงกันและอ่านซับไตเติ้ลแทน
วิกฤตโควิด-19 ทำให้การเดินทางระหว่างประเทศมีข้อจำกัด ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว รวมถึงกลุ่มสินค้าของฝากด้วย แต่จาก Google Trend กลับพบว่าสินค้าของฝากนี่ล่ะที่ถูกค้นหาและสั่งซื้อผ่านช่องทางออนไลน์โดยที่นักท่องเที่ยวไม่ต้องเดินทางมาเมืองไทยด้วยซ้ำ
แม้ว่าหลายๆ ธุรกิจอาจมีการชะลอตัวลงของยอดขายในช่วงวันหยุดยาว คำถามคือ แล้วเราจะทำอย่างไรให้ธุรกิจของเราเข้าไปมีส่วนแบ่งทางการตลาดในช่วงวันหยุดยาวที่ว่านี้ได้
ช่วงเวลาวิกฤตเช่นนี้ ผู้บริโภคส่วนใหญ่ลดการซื้อสินค้าฟุ่มเฟือยลง อย่างเช่นเสื้อผ้า กระเป๋า รองเท้าเพราะหลายคนต้องกักตัวอยู่บ้าน ไม่ได้ออกไปไหน ทำให้ยอดขายสินค้าแฟชั่นลดลง
สมาร์ทโฟนทำให้การถ่ายคลิปเป็นเรื่องง่าย แต่การจะยึดเป็นอาชีพให้ยืนยาว มีหลักการอย่างไรต้องไปฟังจากยูทูบเบอร์รุ่นบุกเบิกของไทย “บี้เดอะสการ์ และ พีทอีทแหลก” ที่มีวิธีคิดและพัฒนาในการสร้างช่องยูทูบให้เป็นอาชีพมากกว่าแค่การสร้างกระแส
มีผู้คนมากมายที่หลงใหลแฟชั่นและใฝ่ฝันอยากปลุกปั้นแบรนด์ของตัวเองให้ประสบความสำเร็จ โด่งดังไปไกลถึงระดับโลก แต่ไม่ง่ายเลยในยุคนี้ที่มีแบรนด์แฟชั่นหน้าใหม่เกิดขึ้นมากมาย แค่ความเก่งอย่างเดียวคงไม่พอ ต้องอาศัยอีกหลายปัจจัยถึงจะทำให้คุณไปถึงฝั่งฝันได้!
Airbnb ธุรกิจที่ให้บริการแพลตฟอร์มจองที่พักโดยที่ตัวเองไม่มีที่พักแม้แต่ที่เดียว! แต่กลับสามารถทำรายได้กำไรมูลค่า 1 พันล้านเหรียญสหรัฐหรือตีเป็นเงินไทยก็ประมาณ 3.1 หมื่นล้านบาทเมื่อไตรมาสที่ 3 ของปีที่แล้ว
วิวัฒนาการเครื่องมือสื่อสาร ที่ไฮเทคขึ้นแต่ราคาถูกลง ทำให้คนเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้มากขึ้น อีกทั้งผู้ให้บริการนำ Big Data และ AI มาวิเคราะห์พฤติกรรมและความต้องการของผู้บริโภค ส่งผลให้ธุรกิจ E-commerce ไทยมีมูลค่าพุ่งถึง 3.2 ล้านล้านบาท
เมื่อยุคนี้ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น และดูเหมือนว่าจะเริ่มอิ่มตัวกับการโฆษณาโดยอินฟลูเอนเซอร์หรือเปล่า? แล้วธุรกิจหรือนักการตลาดที่อยากจะใช้หนทางนี้ในการแจ้งเกิดแบรนด์ยังโอเคอยู่ไหม? ถ้าไม่เชื่ออินฟลูเอนเซอร์แล้วผู้บริโภคจะเชื่อใคร?