อุปสรรคสำคัญที่ทำให้ธุรกิจของเอสเอ็มอีต้องสะดุดหยุดชะงักหรือไปต่อได้ไม่สุด คือ เงินทุนที่มีอยู่จำกัดจำเขี่ย ต่อให้ขายดีเพียงใด ถ้าไม่มีหลักทรัพย์ค้ำประกันก็กู้เงินจากธนาคารไม่ได้
“SHEIN” คือ ฟาสต์แฟชั่นดาวรุ่งพุ่งแรงจากจีน ที่ก่อตั้งขึ้นมาเพียงไม่กี่สิบปีก็สามารถครองใจผู้บริโภคทั่วโลก ทั้งเอเชีย, ยุโรป, อเมริกา, ตะวันออกลาง ฯลฯ จนแซงหน้ารุ่นพี่อย่าง H&M และ Zara ได้
เจตนาที่ต้องการช่วยเกษตรขายข้าวได้กิโลกรัมละไม่กี่บาท กลายเป็นการจุดประกายให้ ณภัทร อินทรเสน และ ฐิตารีย์ ทวาสินฐิติทัช สองสามีภรรยาหันมาทำธุรกิจเดลิเวอรี ผ่านไปเพียงสองปี กิจการที่คิดว่าทำฆ่าเวลา สามารถทำรายได้ถึงเป้า 5 แสนติดกัน 3 เดือน สู่การเปิดหน้าร้านที่เมืองทองธานีที่ยังคงไปได้ดี
หลังจากเกิดการแพร่ระบาดของโควิด-19 ทำให้มีเทรนด์ต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย ซึ่งรวมถึงเทรนด์การจ้างงานด้วย เราเลยจะพาเพื่อนๆ ผู้ประกอบการเอสเอ็มอีไปรู้ 4 เทรนด์การจ้างงานยุคใหม่ที่ธุรกิจ SME ต้องรู้ เพื่อเตรียมตัวในการรับมือ จะมีเทรนด์อะไรบ้างตามมาดูกันเลย
งานวิจัยล่าสุดพบว่า “ความมานะอุตสาหะ” (Perserverant) เป็นทักษะด้านอารมณ์อันดับหนึ่งที่ทำให้คนประสบความสำเร็จ วิธีการหนึ่งในกระตุ้นความมานะอุตสาหะเพิ่มขึ้น คือ การลดทอนหรือกำจัดปัจจัยที่ทำให้ความมานะอุตสาหะซึ่งเรียกย่อๆ ว่า "FAIL" ให้หมดไป
ปฏิเสธไม่ได้ว่าการค้าออนไลน์ได้กลายเป็นเสมือนเส้นทาง fast track สู่ความสำเร็จแก่เจ้าของธุรกิจและสตาร์ตอัพมากมาย แต่ในขณะเดียวกัน ถนนสายนี้ก็เต็มไปด้วยคู่แข่งที่เพิ่มขึ้นทุกวัน สิ่งหนึ่งที่จะทำให้คุณสามารถแข่งขันและมีโอกาสเข้าถึงออร์เดอร์ได้อย่างสม่ำเสมอคือ “ความน่าเชื่อถือ”
ธุรกิจเช่าเสื้อผ้า อาจไม่ใช่เทรนด์ที่เพิ่งเกิดขึ้นมาใหม่ แต่ทุกวันนี้กลับมีตัวเลขเพิ่มขึ้นอย่างน่าสนใจ รวมไปถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคเองที่เริ่มเปลี่ยนจากการเช่าชุดเพื่อใส่ไปโอกาสเฉพาะพิเศษต่างๆ มาเป็นการเช่าแทนการซื้อเพื่อใช้อยู่ในชีวิตประจำวันมากขึ้น เกิดอะไรขึ้นกับวงการเสื้อผ้าแฟชั่น มีอินไซต์อะไรของผู้บริโภคที่ซ่อนอยู่ ไปดูกัน
ไม่ใช่มาแรงแค่ในวงการธุรกิจอาหารเท่านั้น แต่กระแส plant-based ยังแรงต่อเนื่อง โดยเทรนด์นี้ได้ขยายไปยังธุรกิจแฟชั่นเรียบร้อยแล้ว
จ้างงานแบบเงียบ (Quiet hiring) เป็นศัพท์ใหม่ของเทรนด์การทำงานปี 2023 มีความหมาย คือ การที่บริษัทหรือองค์กรเพิ่มทักษะและเติมช่องว่างในที่ทำงานได้โดยไม่ต้องจ้างพนักงานเข้ามาใหม่ และจะดีต่อ องค์กร และ พนักงาน อย่างไร
ความพยายามแก้ปัญหาขยะพลาสติกทั่วโลกนั้นมีมานาน แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จมากนัก ดังนั้นหลายประเทศจึงใช้วิธีแบน พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง (single use plastic: SUP) ทำให้สินค้า อาทิ ช้อน ส้อม หลอดพลาสติก ฯลฯ ไม่สามารถใช้ได้ในหลายประเทศอีกต่อไป
เพราะคนขายของมีอยู่มากมาย ถ้าสินค้าไม่ต่างจริงก็ต้องแข่งกันที่ราคา แต่ทุกวันนี้มีอีกหนึ่งจุดขายที่ผู้บริโภคต้องการ จุดขายที่ว่าคือ ความสะดวกสบาย ซึ่งอาจจะไม่ต้องใช้งบประมาณมากมาย แค่เรื่องราวใกล้ตัวกิจวัตรประจำวัน พบโอกาสทางธุรกิจมากมาย ลองไปดูโอกาสที่ว่ากัน
ฟังเพลินๆ คำว่า ความยั่งยืน (Sustainable) และความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (eco-friendly) อาจดูมีความใกล้เคียงกัน แต่สองคำนี้มีความแตกต่างกันอย่างไร เกี่ยวข้องอย่างไรกับการทำธุรกิจ เรามีคำตอบจากธุรกิจจริงมายกตัวอย่างให้ดูกัน