หลังจากครั้งที่แล้ว เราได้หยิบยกเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเกี่ยวกับบทเรียนพลิกโฉมร้านอาหารอย่างไรให้ปังจากซีรีส์สร้างแรงบันดาลใจสุดฮิต ‘Itaewon Class’ มาเล่าให้ฟังแล้ว ในครั้งนี้เราจะพูดถึงการเติบโตของธุรกิจ จากเดิมที่เคยเป็นร้านอาหารเล็กๆ ในย่าน Itaewon ต้องถูกไล่ที่ ถูกกลั่นแกล้ง เจอ..
หนังสือ Concept is Everything หรือชื่อไทยว่า “1,000 ไอเดียหรือจะสู้ 1 คอนเซปต์” จะทำให้คุณรู้ว่าคอนเซปต์นั้นสำคัญไฉน ซึ่งต่อให้ไม่ใช่คนที่ทำงานด้านครีเอทีฟหรือความคิดสร้างสรรค์มาก่อน ก็จะเข้าใจคำว่า คอนเซปต์ ได้ไม่ยาก
หากพูดถึงผู้บริโภคที่กำลังเข้ามาเปลี่ยนโลกและจะกลายเป็นกำลังซื้อที่สำคัญมากที่สุดนั่นคือชาว Gen Z! ซึ่งตอนนี้พวกเขาคือประชากร 1 ใน 3 ของโลกเลยทีเดียว
ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีเอ็มบี หรือ TMB Analytics รายงานสถานการณ์ COVID-19 จะกระทบต่อมูลค่าการค้าไปจีนราว 20 เปอร์เซ็นต์ ในครึ่งปีแรก หรือเสียหายราว 2.4 แสนล้านบาท โดยหากยืดเยื้อ จะส่งผลต่อต้นทุนวัตถุดิบที่สูงขึ้น และอาจกระทบต่อการจ้างงานในประเทศได้
นี่คือหนังสือที่จะสอนวิธีการบริหารจัดการปัญหาเฉพาะหน้าให้กับร้านค้าต่างๆ เอาไปประยุกต์ใช้ในแบบของตัวเอง ตั้งแต่การดูต้นทุนให้ออก รับมือกับลูกน้องที่คุมยาก หรือการทำให้ทีมที่ชอบทะเลาะกันหันมาจับมือสามัคคีกัน ต่อให้ไม่ใช่เจ้าของร้านอาหารก็อ่านได้
ในยุควิกฤตผู้ประกอบการต้องรัดเข็มขัด ใช้เงินให้ฉลาด ใช้ความคิดให้มาก และต้องออกจากท่าเล่นเดิมๆ เพื่อไปสู่โอกาสใหม่ๆ โดยใช้พลังของความคิดสร้างสรรค์ไปทำให้เกิดรายได้ไม่ใช่การโฆษณาสินค้า
หากเปรียบการทำธุรกิจเหมือนบ่อน้ำขนาดใหญ่ ผู้ประกอบการอย่างเราก็คงเป็นปลาเล็ก ปลาใหญ่ที่เวียนว่ายคอยหาอาหารอยู่ในบ่อเดียวกันนี้ การมองหาน่านน้ำใหม่จึงเป็นเรื่องที่ผู้ประกอบการควรทำอยู่เสมอ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ปรับประมาณการรายได้ของธุรกิจร้านอาหารในปี 2563 ลงเหลือ 4.02 – 4.12 แสนล้านบาท จากคาดการณ์เดิม ณ ต้นปี 2563 มีมูลค่า 4.39 แสนล้านบาท หรือลดลงที่ประมาณ 2.65 - 3.65 หมื่นล้านบาท
ปฏิเสธไม่ได้ว่าทุกวันนี้ Food delivery ได้เข้ามากระตุ้นให้ตลาดธุรกิจอาหารเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างมาก ซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างมูลค่าเพิ่มให้มากขึ้นแล้ว ยังส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปอีกด้วย
ความสวยความงามเป็นสุดยอดปรารถนาของทุกคน เพราะไม่ว่าใครก็อยากดูดีด้วยกันทั้งนั้น ในที่นี้ไม่ได้หมายถึงว่าต้องสวย ต้องหล่อ แต่หมายถึงความงามที่บ่งบอกถึงสุขภาพและบุคลิกที่ดี โดยบางอาชีพจำเป็นต้องใช้ความสวยงามนี้เป็นใบเบิกทางในการทำงานอีกด้วย
ผู้บริโภคยุคใหม่มีความชอบ ความต้องการ และไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างไปจากผู้บริโภคในโลกยุคเก่า จึงนับเป็นความท้าทายของผู้ผลิตสินค้า เจ้าของแบรนด์ และผู้ประกอบการอย่าง SME ที่ต้องเข้าใจและปรับตัวให้ทันเกม โดยต้องอ่านใจลูกค้ายุคดิจิทัลให้ออก
การทำธุรกิจในโลกยุคใหม่ SME ต้องเท่าทันพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป หนึ่งในความเปลี่ยนแปลงที่มองเห็นอย่างชัดเจนคือ วันนี้ผู้คนส่วนใหญ่ใช้ชีวิตอยู่บนโลกโซเชียล ถ้าผู้ประกอบการยังอยู่ในโลกคนละใบ ก็มีโอกาสหลุดจากใจผู้บริโภคยุคใหม่ได้ง่ายๆ