“ไบโอไบรท์” ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดครบวงจรจากธรรมชาติ ที่เกิดในเมืองเล็กๆ อย่าง จ.เลย แต่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ และยังได้รับรางวัลระดับประเทศการันตีความสำเร็จมาไม่น้อย แถมยังยืนหยัดอยู่ในตลาดมานานกว่า 2 ทศวรรษแล้ว
ร้านทุเรียนออนไลน์ “ทุเรียนลุงบอยด์” จังหวัดชลบุรี ผุดไอเดียบรรเจิดขายทุเรียนแถมไม้เคาะไปด้วย พร้อมคู่มือวิธีการกินทุเรียนอย่างถูกต้อง เพื่อให้ลูกค้าสามารถเลือกกินทุเรียนในแบบที่ต้องการได้
Mckinsey บริษัทที่ปรึกษาชื่อดังระดับโลก ได้ทำการศึกษาว่า หลังวิกฤตโควิดผ่านพ้นไป รูปแบบการทำงานในด้านต่างๆ จะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และนี่คือ 8 ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
สถานการณ์การระบาดของโควิด ทำให้ความเชื่อเรื่อง Multipotentialite หรือทักษะความสามารถที่หลากหลาย กลับมาเป็นที่สนใจอีกครั้ง บริษัทที่ปรับตัวได้ดีได้เร็วนั้นเกิดจากการสะสมความสามารถที่หลากหลาย และเมื่อเจอวิกฤตก็เปลี่ยนโมเดลธุรกิจได้ทัน
ในชีวิตคนเราจะเจอวิกฤตได้สักกี่ครั้งกว่าจะประสบความสำเร็จ สำหรับ “นิภาภัทร์ ใจโสด” เจ้าของแบรนด์ “Anatani” อาจเรียกว่าไม่อยากนับกันเลยทีเดียว แต่อะไรทำให้ผู้หญิงคนนี้สามารถก้าวข้ามปัญหา จนกลายมาเป็นแบรนด์นมถั่วแระญี่ปุ่นเจ้าแรกของไทยได้
จากคนไม่เคยคุ้นกับผลิตภัณฑ์สมุนไพร กลายมาเป็นผู้ประกอบการที่ทั้งผลิต จำหน่ายสินค้าดูแลสุขภาพเส้นผมจากสมุนไพร และตอบปัญหาสุขภาพจนสร้างรายได้นับล้าน กับลูกค้าประจำติดตามหลักหมื่นได้ ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นได้เพราะความใส่ใจคนข้างกายไปจนถึงผู้บริโภค
“ผึ้งยิ้ม” แฟรนไชส์เครื่องดื่มน้ำผึ้งมะนาวจากธรรมชาติที่เปิดตัวในเมืองไทยเมื่อหลายสิบปีก่อน วันหนึ่งเมื่อธุรกิจเริ่มเดินทางมาถึงจุดอิ่มตัว จากการขายแฟรนไชส์ในประเทศ จึงพุ่งเป้าสร้างนวัตกรรมเพื่อขยายไปยังตลาดต่างประเทศ
คนไทยกว่า 52 ล้านคนที่มีความเชื่อในเรื่อง “โชคลาง” เรียกได้ว่าเป็นกลุ่มคนส่วนใหญ่ของประเทศ ฉะนั้นแล้ว ผู้ประกอบการหรือนักการตลาดสามารถนำความเชื่อเหล่านี้ไปผูกกับสินค้าและบริการ เพื่อสร้างยอดขายให้มากขึ้นได้ด้วย!
ทำทุกอย่าง พยายามเก่งมันทุกเรื่อง และคาดหวังว่าทุกสิ่งจะคงอยู่ถาวรตลอดไป ความเชื่อทั้งหมดนี้คือ “หลุมพราง” และช่องว่างมรณะ (The Death Gap) ที่นำพาหลายธุรกิจไปสู่ความล่มสลาย แล้วอะไรกันแน่ที่เป็น Game Changer ในการทำธุรกิจยุคใหม่
ในวันที่คำว่า Digital Transformation หรือการเปลี่ยนองค์กรเป็นดิจิทัลถูกใช้กันเกลื่อนเกร่อ แต่ดูเหมือนว่าน้อยรายนักที่จะทำแล้วประสบความสำเร็จ แล้ว SME จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมาทรานส์ฟอร์มองค์กรให้เป็นดิจิทัล
Value for Money (VfM) หรือ “ความคุ้มค่าเงินที่จ่ายไป” กำลังเป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรมต้องให้ความสนใจอย่างจริงจัง เพราะมุมมองของนักท่องเที่ยวกำลังเริ่มพิจารณามากขึ้นว่าเงินที่เขาจ่ายไปเหมาะสมกับสิ่งที่ได้รับหรือไม่?
มาฟัง “ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต” ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) สะท้อนมุมมองการอัพเลเวลสินค้า SME ไทย ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม