ทำอย่างไรถึงจะเอาตัวรอด และข้ามผ่านวิกฤตครั้งนี้ไปได้ และอยู่รอดได้ในยุคดิจิทัล มาฟังตัวอย่างการปรับตัวจากแฟรนไชส์เจ้าดังระดับเจ้าของรางวัลสุดยอดแฟรนไชส์ไทยอย่าง “Mango Mania” และ “D’ORO” กัน
นับเป็นอีกหนึ่งข่าวเศร้าของวงการธุรกิจไทยกับการประกาศปิดกิจการของโรงงานน้ำตาลกุมภวาปีที่อยู่คู่เมืองอุดรธานีมานานกว่า 58 ปี เพื่อเป็นการร่วมส่งท้ายอีกหนึ่งตำนานน้ำตาลเมืองอุดรธานี วันนี้จึงขอนำเสนอเรื่องราวโรงงานน้ำตาลแห่งนี้ให้ได้รู้จักกัน
“ไบโอไบรท์” ผู้ผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดครบวงจรจากธรรมชาติ ที่เกิดในเมืองเล็กๆ อย่าง จ.เลย แต่มีชื่อเสียงไปทั่วประเทศ และยังได้รับรางวัลระดับประเทศการันตีความสำเร็จมาไม่น้อย แถมยังยืนหยัดอยู่ในตลาดมานานกว่า 2 ทศวรรษแล้ว
ปรีดาธพันธุ์ จันทร์เรือง” เขาคือนักธุรกิจเกษตร ที่ยอมทิ้งเงินเดือน 6 หมื่น กับตำแหน่งผู้จัดการโรงงาน ไปเป็นเกษตรกรที่บ้านเกิด สิ่งที่เขาจะคุยกับเรา ไม่ใช่ภาพของความสำเร็จ มาฟังเรื่องราวความชอกช้ำของคนทำนวัตกรรมอย่างเขาไปพร้อมกัน
ว่าในกระบวนการผลิตน้ำตาลทรายนั้น จะเกิดสิ่งหนึ่งที่เรียกว่ากากน้ำตาล หรือ โมลาส จำนวนมาก ทางออกของการใช้ประโยชน์จากกากน้ำตาล คือการนำมาแปรรูปเป็นสุราหรืออาหารสัตว์ ทั้งๆ ที่ในความเป็นจริง กากน้ำตาล เป็นได้มากกว่านั้น
ในโลกนี้มีพลเมืองที่แพ้กลูเตนมากถึง 600-700 ล้านคน นั่นเป็นโอกาสธุรกิจของ “Sava Flour” แป้งกลูเตนฟรีสำหรับผลิตภัณฑ์เบเกอรี่ ที่ทำจากมันสำปะหลัง จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มจากแป้งมันธรรมดาได้สูงถึง 8 เท่า แค่ 1 พาเลท ก็กำไรเท่า 1 ตู้คอนเทนเนอร์
พวกเขาไม่ใช่ชาวสวนธรรมดาๆ แต่เป็นคนทำสวนผลไม้เกรดพรีเมียมที่ลุกมาทำสินค้านวัตกรรม “Juice Ball” เจลบอลน้ำผลไม้ 100 เปอร์เซ็นต์ ที่ผลิตจากสารสกัดจากสาหร่าย จนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ถึง 4 เท่า
ธนาคารกรุงเทพขานรับมาตรการของ ธปท. และกระทรวงการคลัง ในการร่วมส่งมอบความช่วยเหลือเพิ่มเติมให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจ ผ่าน 2 มาตรการ
วันนี้ห้องพักไม่ใช่แหล่งรายได้หลักอีกต่อไป เมื่อนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เคยเป็นตลาดหลักต้องหายไปเพราะวิกฤต “โรงแรมไชน่าทาวน์” จึงพลิกมาหาเงินกับธุรกิจอาหาร รวบรวมความอร่อยย่านเยาวราชที่คุ้นเคยดีมาเสิร์ฟให้กับผู้คนแบบเดลิเวอรี
ผู้ประกอบการหลายคนอาจผลิตเก่ง ทำของดี มีแบรนด์ปัง แต่ต้องมาตกม้าตายเพราะปัญหาสต็อกสินค้า ป้าตือ ย้ำว่า การจัดการแบรนด์โดยเฉพาะเรื่องการเคลียร์สต็อกเป็นสิ่งสำคัญ ไม่ว่าจะทำในรูปแบบของ New Form หรือ Re-Construction ก็ตาม
“Maligood” แฟชั่นผ้าไหมสุดลักชัวรี่ ไอเดียทายาทวันเพ็ญไหมไทย สร้างแบรนด์-วิจัยโปรตีนไหม ไปบุกตลาดโลก
ถ้าผลิตภัณฑ์ OTOP ถูกต่อยอดโดยคนรุ่นใหม่ จากสินค้าชุมชนก็พร้อมอัพเกรดสู่ลักชัวรี่แบรนด์ได้ เหมือน “Maligood” (มะลิกู๊ด) ผลิตภัณฑ์แฟชั่นจากผ้าไหมไทยที่ขายกันในราคาหลักหมื่น ส่งออกไปทั้งสิงคโปร์ ญี่ปุ่น ฮ่องกง ออสเตรเลียและอเมริกา
นี่คือ “SIMPLY DÉCOR” พวกเขาทำผลิตภัณฑ์จากกระดาษสาแบรนด์ “PAPA PAPER CRAFT®” ทว่าไม่ใช่กระดาษธรรมดาๆ ที่ลบภาพจำเก่าๆ ของกระดาษสา เมื่อหลายทศวรรษก่อนไปจนสิ้น